ทฤษฎีสังคมมองแบบมนุษยศาสตร์และมองแบบสังคมศาสตร์ต่างกัน
มองแบบมนุษยศาสตร์คือมองจากตัวเองคิดว่าเป็นอย่างโน้นเป็นอย่างนี้ เช่นการเล่าประวัติศาสตร์จากมุมมองของคนเล่า
และมองว่าสังคมเปลี่ยนแปลงเพราะคนๆเดียว เป็นต้น
ส่วน
การมองแบบสังคมศาสตร์ซึ่งเป็นการมองแบบสมัยใหม่ในยุคหลังเช่นการมองแบบเศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เป็นการมองอย่างเป็นระบบจากระบบเศรษฐกิจ ระบบสังคมวัฒนธรรม และระบบการเมือง
มองแบบวิวัฒนาการ
การมองแบบอะไรๆก็"นายใหญ่" ต้องโค่น"นายใหญ่"จึงจะสำเร็จเป้าหมายแห่งความขัดแย้งที่เกิดขึ้น เป็นการมองแบบ"มนุษยศาสตร์"
ส่วนการมองแบบ
ระบบเศรษฐกิจ มองว่าสังคมปัจจุบันมีรากฐานทางเศรษฐกิจที่ใหญ่โตจนต้องปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย ถ้าปกครองแบบยุคโบราณก็จะขัดขวางความเจริญก้าวหน้าของสังคมนั้นๆ เป็นการมองแบบสังคมศาสตร์
เช่น การทำรัฐประหารเมื่อ 19 กันยายน พ.ศ.2549 เป็นการนำเอาระบบระบอบโบราณกลับมาใช้อีกครั้งหนึ่งซึ่งทำให้ทั้งประเทศถอยหลังเข้าคลองและไม่สามารถทำให้ประชาชนอยู่ดีกินดีได้ ประเทศต่างๆหันมาใช้ระบอบประชาธิปไตยกันเกือบทั้งโลกแล้ว
ประเทศไทยมีพลังสองพลังขัดแย้งกัน คือพลังที่ทำเพื่อประชาชน เป็นพลังประชาธิปไตย กับ พลังที่ต่อต้านระบอบประชาธิปไตย
แม้ว่าเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยเมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เป็นต้นมา
สองพลังนี้ก็ต่อสู้กันมา ประชาชนเสียชีวิตไปมากมายบนเส้นทางการต่อสู้เพื่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ทฤษฎีสังคมมองแบบมนุษยศาสตร์และมองแบบสังคมศาสตร์ต่างกัน
มองแบบมนุษยศาสตร์คือมองจากตัวเองคิดว่าเป็นอย่างโน้นเป็นอย่างนี้ เช่นการเล่าประวัติศาสตร์จากมุมมองของคนเล่า
และมองว่าสังคมเปลี่ยนแปลงเพราะคนๆเดียว เป็นต้น
ส่วน
การมองแบบสังคมศาสตร์ซึ่งเป็นการมองแบบสมัยใหม่ในยุคหลังเช่นการมองแบบเศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เป็นการมองอย่างเป็นระบบจากระบบเศรษฐกิจ ระบบสังคมวัฒนธรรม และระบบการเมือง
มองแบบวิวัฒนาการ
การมองแบบอะไรๆก็"นายใหญ่" ต้องโค่น"นายใหญ่"จึงจะสำเร็จเป้าหมายแห่งความขัดแย้งที่เกิดขึ้น เป็นการมองแบบ"มนุษยศาสตร์"
ส่วนการมองแบบ
ระบบเศรษฐกิจ มองว่าสังคมปัจจุบันมีรากฐานทางเศรษฐกิจที่ใหญ่โตจนต้องปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย ถ้าปกครองแบบยุคโบราณก็จะขัดขวางความเจริญก้าวหน้าของสังคมนั้นๆ เป็นการมองแบบสังคมศาสตร์
เช่น การทำรัฐประหารเมื่อ 19 กันยายน พ.ศ.2549 เป็นการนำเอาระบบระบอบโบราณกลับมาใช้อีกครั้งหนึ่งซึ่งทำให้ทั้งประเทศถอยหลังเข้าคลองและไม่สามารถทำให้ประชาชนอยู่ดีกินดีได้ ประเทศต่างๆหันมาใช้ระบอบประชาธิปไตยกันเกือบทั้งโลกแล้ว
ประเทศไทยมีพลังสองพลังขัดแย้งกัน คือพลังที่ทำเพื่อประชาชน เป็นพลังประชาธิปไตย กับ พลังที่ต่อต้านระบอบประชาธิปไตย
แม้ว่าเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยเมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เป็นต้นมา
สองพลังนี้ก็ต่อสู้กันมา ประชาชนเสียชีวิตไปมากมายบนเส้นทางการต่อสู้เพื่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย