ปัญหา EPR paradox
สมมติว่ามีอะตอมๆนึงปลดปล่อยอิเล็คตรอนออกมาสองอนุภาคในทิศตรงกันข้าม สมมติว่าอิเล็คตรอนทั้งสองหมุนในทิศเดียวกันเสมอ เมื่อเวลาผ่านไปนานพอสมควร อิเล็คตรอนทั้ง 2 เคลื่อนห่างจากกันกว่าพันล้านไมล์ ก่อนหน้าจะมีการตรวจวัดคุณไม่ทราบถึลทิศการหมุนของอิเล็คตรอนเหล่านี้ ทีนี้พอคุณตรวจวัดสปินของอิเล็คตรอนตัวนึง สมมติว่ามันมีทิศชี้ขึ้น ทันทีทันใดคุณก็จะทราบว่าอิเล็คตรอนอีกตัวนึงมันจะมีทิศสปิน เป็นทิศขึ้น เนื่องจากมันมีสปินตรงกับเพื่อนของมัน แม้ว่าระยะทางจะห่างไปหลายปีแสง การตรวจวัดของคุณในจักรวาลจะสามารถไปกำหนดอีกสถานะนึงของอีกซีกจักรวาลได้ไนทันที ผมสงสัยว่าการที่อนุภาคมีความพัวพันกันเช่นนี้ ในลักษณะ non local ละเมิดหลักสัมพัทธภาพที่ว่าไม่มีสิ่งใดเคลื่อนได้เร็วกว่าแสงหรือไม่ ??
http://en.wikipedia.org/wiki/EPR_paradox
ถามเรื่องความพัวพันเชิงควอนตัมครับ ??
สมมติว่ามีอะตอมๆนึงปลดปล่อยอิเล็คตรอนออกมาสองอนุภาคในทิศตรงกันข้าม สมมติว่าอิเล็คตรอนทั้งสองหมุนในทิศเดียวกันเสมอ เมื่อเวลาผ่านไปนานพอสมควร อิเล็คตรอนทั้ง 2 เคลื่อนห่างจากกันกว่าพันล้านไมล์ ก่อนหน้าจะมีการตรวจวัดคุณไม่ทราบถึลทิศการหมุนของอิเล็คตรอนเหล่านี้ ทีนี้พอคุณตรวจวัดสปินของอิเล็คตรอนตัวนึง สมมติว่ามันมีทิศชี้ขึ้น ทันทีทันใดคุณก็จะทราบว่าอิเล็คตรอนอีกตัวนึงมันจะมีทิศสปิน เป็นทิศขึ้น เนื่องจากมันมีสปินตรงกับเพื่อนของมัน แม้ว่าระยะทางจะห่างไปหลายปีแสง การตรวจวัดของคุณในจักรวาลจะสามารถไปกำหนดอีกสถานะนึงของอีกซีกจักรวาลได้ไนทันที ผมสงสัยว่าการที่อนุภาคมีความพัวพันกันเช่นนี้ ในลักษณะ non local ละเมิดหลักสัมพัทธภาพที่ว่าไม่มีสิ่งใดเคลื่อนได้เร็วกว่าแสงหรือไม่ ??
http://en.wikipedia.org/wiki/EPR_paradox