ไม่ทราบนะครับ แต่โดยส่วนตัว ผมขึ้นว่า ราคาอาหาร หรือค่าครองชีพต่างๆ ก็คงต้องขยับตัวสูงขึ้น เป็นปกติธรรมดา
แต่จะช้าหรือเร็วเท่านั้น ซึ่งเราดูแนวโน้มทั้งหมดได้จากกลุ่ม ประเทศที่วิ่งๆ อยู่ก่อนหน้าเรา อยางเช่น ญี่ปุ่น เกาหลี สิงคโปร ยูเอสเอ ยุโรป ฯลฯ
เพราะฉะนั้น ในชีวิตจริงเราต้องวิ่งไว้เสมอ ห้ามหยุดกับที่ (เนื่องด้วยเราอยู่ใน ระบบธุรกิจ ที่ไม่เคยหยุดนิ่ง )
อาหารขึ้นราคา ผมก็ต้องขยับตัวเองหนี หางาน หาการใหม่ เพื่อเพิ่มรายได้
ศึกษาเรียนรู้ พัฒนาตนเองอยู่เสมอ เพื่อเพิ่มศักยภาพ ในการแข่งขัน
บริษัท ก็เหมือนคน คนก็เหมือนบริษัท หากมาเกี่ยวโยงกับระบบธุรกิจแล้ว หยุดวิ่งไม่ได้
เงินรายได้ที่เข้ามา ผมก็ต้องแบ่งไว้ สำหรับ
๑. ส่วนเพิ่มศักภาพในการแข่งขันให้ตนเอง เช่น งานวิจัยพัฒนา สร้าง core competency ให้ตนเอง (ศึกษาเพิ่มเติม ซื้อหนังสือมาอ่าน เพิ่มทักษะ ฯลฯ)
๒. ส่วนหนึ่งของรายได้ ก็นำมา จ่ายต้นทุนชีวิต เพิ่มสีสรรชีวิต(ค่าพนักงาน กินข้าว กินหนม เฮฮาปารตี้)
๓. ส่วนหนึ่งก็เงิน ทุนสำรองของบริษัท กันไว้เป็นกระแสเงินสด (เงินสำรองส่วนบุคคล กรณีฉุกเฉิน)
ทีนี้ หากว่าลืมตัว มัวแต่เล่นเพลิน จู่ๆ ค่าครองชีพข้นฉับพลัน
ผมก็ต้องขยับ หางานใหม่ หารายได้เพิ่ม (อาจจะดึงสำรองออกมาใช้)
เจ้านายเราก็เหมือนกัน ครับ บางทีเขาลืม ใช้เราจนเพลิน ลืม มองอนาคต อันนี้ให้อภัยไม่ได้ ถือว่า ขาดวิสัยทัศน์
เราก็หางานใหม่ ลาออก เพิ่มเงินเดือน ครั้น จะมาเพิ่มให้ตอนยื่นหนังสือลาออก ถึง ๓๐ หรือ ๕๐ เปอร์เซ็นต์ก้ออย่าไปรับครับ
ถือว่า ขาดวิสัยทัศน์ โบกมือลากันด้วยดี
ประเทศไทยไม่เหมือนญี่ปุ่นนิครับ เพื่อนผมบอกว่า หากคนญี่ปุ่นเปลี่ยนงานเกินหนึ่งครั้ง ใครๆ ก็คิดว่าตัวคุณมีปัญหา
อยู่ที่ว่า เราอย่าลืมตัวเองเท่านั้นเอง ว่า "ธุรกิจคือการแข่งขัน" เพราะฉะนั้น ต้องมองไปข้างหน้า และพัฒนาตัวเองอยู่เสมอ
อย่าเผลอทำตัวแบบ บริษัทไทยๆ ได้เงินมา ก็เอามาปรนเปรอลูกเมีย บ้านรถ ลงที่ทรัพย์สินกอดไว้
ท้ายที่สุดก็เจ้งครับ แข่งกับใครเขาไม่ได้
ทำตัวเหมือนโรงงานเย็บผ้า รับจ้างผลิต กดค่าแรงไว้ตลอด พอเปิดดูตัวเลขมาจริงๆ ก็ต้องย้ายฐานกันอุตลุด
ช่วงมีงาน มีเงินก็เอาไปผ่อนรถผ่อน มือถือ พอถึงเวลาก็ ไม่ทันแล้ว
แบบนี้ ผมคิดแคบ เห็นแก่ตัวไปไหมครับ
เห็นโพ้สกันจัง เรื่องอาหารแพง ผมคิดแบบนี้ ถูกหรือปล่าวครับ
แต่จะช้าหรือเร็วเท่านั้น ซึ่งเราดูแนวโน้มทั้งหมดได้จากกลุ่ม ประเทศที่วิ่งๆ อยู่ก่อนหน้าเรา อยางเช่น ญี่ปุ่น เกาหลี สิงคโปร ยูเอสเอ ยุโรป ฯลฯ
เพราะฉะนั้น ในชีวิตจริงเราต้องวิ่งไว้เสมอ ห้ามหยุดกับที่ (เนื่องด้วยเราอยู่ใน ระบบธุรกิจ ที่ไม่เคยหยุดนิ่ง )
อาหารขึ้นราคา ผมก็ต้องขยับตัวเองหนี หางาน หาการใหม่ เพื่อเพิ่มรายได้
ศึกษาเรียนรู้ พัฒนาตนเองอยู่เสมอ เพื่อเพิ่มศักยภาพ ในการแข่งขัน
บริษัท ก็เหมือนคน คนก็เหมือนบริษัท หากมาเกี่ยวโยงกับระบบธุรกิจแล้ว หยุดวิ่งไม่ได้
เงินรายได้ที่เข้ามา ผมก็ต้องแบ่งไว้ สำหรับ
๑. ส่วนเพิ่มศักภาพในการแข่งขันให้ตนเอง เช่น งานวิจัยพัฒนา สร้าง core competency ให้ตนเอง (ศึกษาเพิ่มเติม ซื้อหนังสือมาอ่าน เพิ่มทักษะ ฯลฯ)
๒. ส่วนหนึ่งของรายได้ ก็นำมา จ่ายต้นทุนชีวิต เพิ่มสีสรรชีวิต(ค่าพนักงาน กินข้าว กินหนม เฮฮาปารตี้)
๓. ส่วนหนึ่งก็เงิน ทุนสำรองของบริษัท กันไว้เป็นกระแสเงินสด (เงินสำรองส่วนบุคคล กรณีฉุกเฉิน)
ทีนี้ หากว่าลืมตัว มัวแต่เล่นเพลิน จู่ๆ ค่าครองชีพข้นฉับพลัน
ผมก็ต้องขยับ หางานใหม่ หารายได้เพิ่ม (อาจจะดึงสำรองออกมาใช้)
เจ้านายเราก็เหมือนกัน ครับ บางทีเขาลืม ใช้เราจนเพลิน ลืม มองอนาคต อันนี้ให้อภัยไม่ได้ ถือว่า ขาดวิสัยทัศน์
เราก็หางานใหม่ ลาออก เพิ่มเงินเดือน ครั้น จะมาเพิ่มให้ตอนยื่นหนังสือลาออก ถึง ๓๐ หรือ ๕๐ เปอร์เซ็นต์ก้ออย่าไปรับครับ
ถือว่า ขาดวิสัยทัศน์ โบกมือลากันด้วยดี
ประเทศไทยไม่เหมือนญี่ปุ่นนิครับ เพื่อนผมบอกว่า หากคนญี่ปุ่นเปลี่ยนงานเกินหนึ่งครั้ง ใครๆ ก็คิดว่าตัวคุณมีปัญหา
อยู่ที่ว่า เราอย่าลืมตัวเองเท่านั้นเอง ว่า "ธุรกิจคือการแข่งขัน" เพราะฉะนั้น ต้องมองไปข้างหน้า และพัฒนาตัวเองอยู่เสมอ
อย่าเผลอทำตัวแบบ บริษัทไทยๆ ได้เงินมา ก็เอามาปรนเปรอลูกเมีย บ้านรถ ลงที่ทรัพย์สินกอดไว้
ท้ายที่สุดก็เจ้งครับ แข่งกับใครเขาไม่ได้
ทำตัวเหมือนโรงงานเย็บผ้า รับจ้างผลิต กดค่าแรงไว้ตลอด พอเปิดดูตัวเลขมาจริงๆ ก็ต้องย้ายฐานกันอุตลุด
ช่วงมีงาน มีเงินก็เอาไปผ่อนรถผ่อน มือถือ พอถึงเวลาก็ ไม่ทันแล้ว
แบบนี้ ผมคิดแคบ เห็นแก่ตัวไปไหมครับ