Credit : FB Take Risk Take control
-------
หากคุณเป็นนัำเก็งกำไร แนว Trend Follower
และมาเล่นหุ้นปั่นที่ร้อนแรงช่วงนี้
ถ้าวิธีการเล่นทุกครั้งที่เข้าซื้อเมื่อมีการนำ new high
ซื้อเมือเบรค break high ตรงจุดลูกศรสีแดง
และใช้ Low ก่อนหน้าเป็นจุด Stoploss ตรงเส้นสีน้ำเงิน
หรือ แนวต้านกลายเป็นแนวรับ หรือ stoploss
ซึ่งเป็นวิธีการเล่นข้างต้นจะเป็นวิธีการเล่นตามทฤษฎี dow theory
อยากจะลองเสนอกลยุทธ์ Money Management ในหุ้นขาขึ้น
จากสมการการหา Position sizing คือ P = C/R
ในการซื้อครั้งแรก ที่สัญญา BUY1 เราก็เอาจุด stoploss1
มาคำนวนหา position sizing เมือทำเรียบร้อยแล้ว
และหุ้นได้ขึ้นไปถึงจุด BUY2 แล้วมีการย่อต้วลงมา
เราก็จะเห็นแนวรับใหม่ที่เกิดขึ้น เป็นจุด stoploss2 or take profit
เงินสดที่เหลือเราก็สามารถเข้าซื้อหุ้นไม้ที่ 2 ได้
โดยนำจุด Buy2 และ stoploss2 มาคำนวน Position sizing ไม้ที่สอง
หลังจากมีการเข้าซื้อไป 2 ไม้แล้ว อยากจะขออธิบาย
เรือง Money Management ให้เข้าใจในการซื้อหุ้นตัวเดิมเพิ่ม
ในไม้ที่สองนี้ สมมุติว่าหุ้นไม้แรกที่เราซื้อตอนเข้าซื้อ
ด้วยการค่า C 10000 บาท (เงินที่สามารถยอมขาดทุนได้)
ณจุดนี้เราน่าจะมีกำไรแล้วเกิน 10000 บาท
แปลว่าณจุดเข้าซื้อจุดที่สองนี้
ความเสียงของการที่เงินจะขาดทุน 10000 บาทได้หมดไปแล้ว
เต็มที่ก็กำไรน้อย หรือ เสมอตัว เพราะเรามีจุด stoploss หรือ take profit
ดังนั้นการซื้อหุ้นในไม้ที่สอง ถ้าหากหุ้นไม่ได้วิ่งขึ้นต่อ
เราก็จะขาดทุนแค่ 10000 บาท จากการคำนวน Position sizing ของไม้ที่2
แต่สำหรับไม้แรกเราจะขาดทุนกำไร เมื่อนำมาหักลบกัน
กลยุทธ์ของ Money Management นี้ ก็จะทำให้ภาพรวมเรา
ซื้อหุ้นเพิ่มก็จะไม่ขาดทุนเกิน 10000 บาท หรืออาจจะขาดกำไรเหลือน้อย
แต่ถ้าหุ้นวิ่งไปต่อได้เราก็จะมีกำไรเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
หลายคนคงมีคำถามทำไมไม่ซื้อแบบจัดเต็มตอนที่จุด Buy1
อยากจะตอบว่าถ้าเราซื้อโดยที่ไม่ได้ใช้ Money Management
หากหุ้นไม่ได้วิ่งขึ้นตามที่เราตั้งใจไว้ จากกขาดทุน 10000 บาท
ก็จะกลายเป็นขาดทุนเกิน 10000 บาทในกรณีที่ผิดทาง
แล้วอาจจะเป็นสาเหตุให้เราไม่ stoploss เพราะเกิดปัญหาทางจิตใจ
ในการที่รับความเสี่ยงไม่ได้ ซึ่งก็คืออาการของ Overtrade นี่เอง
มาต่อกันครับตามกราฟหุ้นวิ่งขึ้นไปอีก ผ่านจุด Buy2
ไปทำ high ใหม่เป็นจุด buy3
ณจุด Buy3 นี้เราก็สามารถซื้อหุ้นเพิ่มได้เมื่อผ่านขึ้นไป
โดยจุด Buy2 กลายเป็นแนวนรับ หรือ จุด stoploss3 or take porfit
เราก็ทำการหา position sizing อีกครั้ง จะะเห็นได้ว่า
หุ้นไม้แรกที่เราซื้อ ความเสียงได้หายไปหมดแล้ว
หุ้นไม้ที่สองที่เราซื้อ ความเส่ยงที่เราจะขาดทุนก็หมดไป
อาจจะกำไรน้อย หรือ เสมอตัว
ณจุด Buy3 นี้ เราเข้าซื้อหุ้นด้วยความเสี่ยงที่ 10000 บาทเหมือนเดิม
ความเสี่ยงก็การเข้าซื้อหุ้นก็จะยังคงอยู่ที่ 10000 บาท เท่านั้น
ถ้าถึงจุดตัดขาดทุน เราก็ยังกำไรอยู่จากหุ้นไม้แรกที่กำไรนั้นเอง
แต่จากกราฟการเข้าซื้อหุ้นไม้ที่3 นั้นราคาปิดของหุ้นได้วิ่งไปไกลมาก
ทำให้ความเสี่ยงที่เราจะขาดทุนนั้นได้หายไปหมดแล้ว
เหลือเพียงกำไรมากหรือกำไรน้อยเท่านั้น
มาถึงจุดนี้แล้วสิ่งที่อยากจะแนะนำ fan page ทุกท่าน
คือหลักการของ Money Management นั้นเมื่อเป็นขาขึ้น
เราสามารถทำกำไรได้ และก็คุมความเสี่ยงได้
อาจจะเติบโตช้า แต่เรียกว่าเติบโตอย่างมั่นคง
หากใครสงสัยวิธีการคำนวน Position Sizing สามารถเปิดหา
ในกระทู้เก่าได้นะครับ มีคำอธิบายอยู่
สุดท้ายที่อยากจะฝากไว้ กฎของการเล่นหุ้นปั่น
คือลุกช้าจ่ายรอบวงนะครับ
Take Risk Take control
-------
เล่นหุ้นปั่นให้ปลอดภัย กับ Money Management
-------
หากคุณเป็นนัำเก็งกำไร แนว Trend Follower
และมาเล่นหุ้นปั่นที่ร้อนแรงช่วงนี้
ถ้าวิธีการเล่นทุกครั้งที่เข้าซื้อเมื่อมีการนำ new high
ซื้อเมือเบรค break high ตรงจุดลูกศรสีแดง
และใช้ Low ก่อนหน้าเป็นจุด Stoploss ตรงเส้นสีน้ำเงิน
หรือ แนวต้านกลายเป็นแนวรับ หรือ stoploss
ซึ่งเป็นวิธีการเล่นข้างต้นจะเป็นวิธีการเล่นตามทฤษฎี dow theory
อยากจะลองเสนอกลยุทธ์ Money Management ในหุ้นขาขึ้น
จากสมการการหา Position sizing คือ P = C/R
ในการซื้อครั้งแรก ที่สัญญา BUY1 เราก็เอาจุด stoploss1
มาคำนวนหา position sizing เมือทำเรียบร้อยแล้ว
และหุ้นได้ขึ้นไปถึงจุด BUY2 แล้วมีการย่อต้วลงมา
เราก็จะเห็นแนวรับใหม่ที่เกิดขึ้น เป็นจุด stoploss2 or take profit
เงินสดที่เหลือเราก็สามารถเข้าซื้อหุ้นไม้ที่ 2 ได้
โดยนำจุด Buy2 และ stoploss2 มาคำนวน Position sizing ไม้ที่สอง
หลังจากมีการเข้าซื้อไป 2 ไม้แล้ว อยากจะขออธิบาย
เรือง Money Management ให้เข้าใจในการซื้อหุ้นตัวเดิมเพิ่ม
ในไม้ที่สองนี้ สมมุติว่าหุ้นไม้แรกที่เราซื้อตอนเข้าซื้อ
ด้วยการค่า C 10000 บาท (เงินที่สามารถยอมขาดทุนได้)
ณจุดนี้เราน่าจะมีกำไรแล้วเกิน 10000 บาท
แปลว่าณจุดเข้าซื้อจุดที่สองนี้
ความเสียงของการที่เงินจะขาดทุน 10000 บาทได้หมดไปแล้ว
เต็มที่ก็กำไรน้อย หรือ เสมอตัว เพราะเรามีจุด stoploss หรือ take profit
ดังนั้นการซื้อหุ้นในไม้ที่สอง ถ้าหากหุ้นไม่ได้วิ่งขึ้นต่อ
เราก็จะขาดทุนแค่ 10000 บาท จากการคำนวน Position sizing ของไม้ที่2
แต่สำหรับไม้แรกเราจะขาดทุนกำไร เมื่อนำมาหักลบกัน
กลยุทธ์ของ Money Management นี้ ก็จะทำให้ภาพรวมเรา
ซื้อหุ้นเพิ่มก็จะไม่ขาดทุนเกิน 10000 บาท หรืออาจจะขาดกำไรเหลือน้อย
แต่ถ้าหุ้นวิ่งไปต่อได้เราก็จะมีกำไรเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
หลายคนคงมีคำถามทำไมไม่ซื้อแบบจัดเต็มตอนที่จุด Buy1
อยากจะตอบว่าถ้าเราซื้อโดยที่ไม่ได้ใช้ Money Management
หากหุ้นไม่ได้วิ่งขึ้นตามที่เราตั้งใจไว้ จากกขาดทุน 10000 บาท
ก็จะกลายเป็นขาดทุนเกิน 10000 บาทในกรณีที่ผิดทาง
แล้วอาจจะเป็นสาเหตุให้เราไม่ stoploss เพราะเกิดปัญหาทางจิตใจ
ในการที่รับความเสี่ยงไม่ได้ ซึ่งก็คืออาการของ Overtrade นี่เอง
มาต่อกันครับตามกราฟหุ้นวิ่งขึ้นไปอีก ผ่านจุด Buy2
ไปทำ high ใหม่เป็นจุด buy3
ณจุด Buy3 นี้เราก็สามารถซื้อหุ้นเพิ่มได้เมื่อผ่านขึ้นไป
โดยจุด Buy2 กลายเป็นแนวนรับ หรือ จุด stoploss3 or take porfit
เราก็ทำการหา position sizing อีกครั้ง จะะเห็นได้ว่า
หุ้นไม้แรกที่เราซื้อ ความเสียงได้หายไปหมดแล้ว
หุ้นไม้ที่สองที่เราซื้อ ความเส่ยงที่เราจะขาดทุนก็หมดไป
อาจจะกำไรน้อย หรือ เสมอตัว
ณจุด Buy3 นี้ เราเข้าซื้อหุ้นด้วยความเสี่ยงที่ 10000 บาทเหมือนเดิม
ความเสี่ยงก็การเข้าซื้อหุ้นก็จะยังคงอยู่ที่ 10000 บาท เท่านั้น
ถ้าถึงจุดตัดขาดทุน เราก็ยังกำไรอยู่จากหุ้นไม้แรกที่กำไรนั้นเอง
แต่จากกราฟการเข้าซื้อหุ้นไม้ที่3 นั้นราคาปิดของหุ้นได้วิ่งไปไกลมาก
ทำให้ความเสี่ยงที่เราจะขาดทุนนั้นได้หายไปหมดแล้ว
เหลือเพียงกำไรมากหรือกำไรน้อยเท่านั้น
มาถึงจุดนี้แล้วสิ่งที่อยากจะแนะนำ fan page ทุกท่าน
คือหลักการของ Money Management นั้นเมื่อเป็นขาขึ้น
เราสามารถทำกำไรได้ และก็คุมความเสี่ยงได้
อาจจะเติบโตช้า แต่เรียกว่าเติบโตอย่างมั่นคง
หากใครสงสัยวิธีการคำนวน Position Sizing สามารถเปิดหา
ในกระทู้เก่าได้นะครับ มีคำอธิบายอยู่
สุดท้ายที่อยากจะฝากไว้ กฎของการเล่นหุ้นปั่น
คือลุกช้าจ่ายรอบวงนะครับ
Take Risk Take control
-------