จริงๆแนวคิดเทคนิคนี้ น่าจะมีงานวิจัยและพัฒนามาอย่างต่อเนื่องในแวดวงวิชาการมานานพอสมควร
แต่อย่างว่า การจะผลักดันให้เป็นรูปธรรมเชิงนโยบายย่อมต้องให้เสนาบดีนักการเมืองช่วยดันช่วยเข็นอนุมัติเห็นชอบ
คุณชัชชาติ เป็น อาจารย์ด้านวิศวกรรมโยธา คงเล็งเห้นว่า ถ้ายางพาราแม้เพียง 5%ที่ผสมลงไปในถนนยางมะตอย
แต่เมื่อเทียบกับงานซ่อมบำรุงและงานทางตัดใหม่ทั่วประเทศ คงใช้ปริมาณยางพาราที่มากพอดูเลยครับ
ขอบคุณนักบริหารการเมืองท่านนี้จริงๆ รู้สึกว่ารัฐบาลนี้มีบุญ ที่อย่างน้อย ฝ่ายตรงข้ามก็ซูฮกว่าคุณชัชชาติ เป็นตัวจริง
====================================================================
รมว.คมนาคม เผยใช้ยางพารา5%ผสมยางมะตอย พบมีความฝืดเพิ่ม ลดอุบัติเหตุได้ จะใช้เป็นส่วนผสมปรับปรุงถนนทั่วปท.
cr: @Reporter_Js1
วันนี้ผมได้พาสื่อมวลชนมาดูการก่อสร้างฉาบผิวถนนด้วยวิธีพาราสเลอรีซิล (Para Slurry Seal) บนทางด่วนดอนเมืองโทลเวย์ ด้านขาออก บริเวณ กม. 25 ครับ เป็นส่วนหนึ่งของการเพิ่มการใช้ยางพาราในประเทศตามนโยบายท่านนายกครับ
ในปัจจุบันงานของกระทรวงคมนาคมได้มีการประยุกต์ใช้ยางพารามาใช้กับงานถนน ใน 2 รูปแบบ ได้แก่
1. งานฉาบถนนโดยวิธีพาราสเลอรีซิล ซึ่งมีการใช้น้ำยางพาราข้นประมาณ 5-8 % โดยน้ำหนักมาเป็นส่วนผสมร่วมกับยางมะตอยเหลว ซึ่งในปัจจุบันกรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบทได้ทำการฉาบผิวด้วยวิธีนี้มาได้ 3 ปีแล้ว โดยถนนมีคุณภาพดีหลังจากเปิดใช้งาน
2. งานก่อสร้างถนนดำ หรือถนนยางมะตอย สำหรับการนำยางพารามาผสมกับยางมะตอยเพื่อก่อสร้างถนน ในปัจจุบันกรมทางหลวงได้ทำแปลงทดสอบบนทางหลวงหมายเลข 305 เส้นสายองค์รักษ์-นครนายก ซึ่งมีการทดลองผสมยางพาราลงไปประมาณ 5% โดยน้ำหนัก ซึ่งอยู่ในระหว่างการติดตามคุณภาพ
ปัจจุบันเรามีการใช้ยางมะตอยในประเทศ ปีละประมาณ 700,000 ตัน และส่งออกอีกปีละประมาณ 690,000 ตัน
ถ้าเราสามารถใช้ยางพาราเป็นส่วนผสมเพิ่ม ก็จะทำให้มีการใช้ยางพาราในประเทศมากขึ้น ซึ่งกระทรวงคมนาคมก็เร่งผลักดันการใช้ในส่วนนี้อยู่ครับ
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=556437947750395&set=a.552912478102942.1073741839.532747176786139&type=1&theater
ขอบคุณคุณชัชชาติ รมต.คมนาคม ที่อุตส่าห์หาแนวทางช่วยแก้ปัญหาราคายางพาราข้ามกระทรวง โดยผสมยางพารากับยางมะตอยราดถนน
แต่อย่างว่า การจะผลักดันให้เป็นรูปธรรมเชิงนโยบายย่อมต้องให้เสนาบดีนักการเมืองช่วยดันช่วยเข็นอนุมัติเห็นชอบ
คุณชัชชาติ เป็น อาจารย์ด้านวิศวกรรมโยธา คงเล็งเห้นว่า ถ้ายางพาราแม้เพียง 5%ที่ผสมลงไปในถนนยางมะตอย
แต่เมื่อเทียบกับงานซ่อมบำรุงและงานทางตัดใหม่ทั่วประเทศ คงใช้ปริมาณยางพาราที่มากพอดูเลยครับ
ขอบคุณนักบริหารการเมืองท่านนี้จริงๆ รู้สึกว่ารัฐบาลนี้มีบุญ ที่อย่างน้อย ฝ่ายตรงข้ามก็ซูฮกว่าคุณชัชชาติ เป็นตัวจริง
====================================================================
รมว.คมนาคม เผยใช้ยางพารา5%ผสมยางมะตอย พบมีความฝืดเพิ่ม ลดอุบัติเหตุได้ จะใช้เป็นส่วนผสมปรับปรุงถนนทั่วปท.
cr: @Reporter_Js1
วันนี้ผมได้พาสื่อมวลชนมาดูการก่อสร้างฉาบผิวถนนด้วยวิธีพาราสเลอรีซิล (Para Slurry Seal) บนทางด่วนดอนเมืองโทลเวย์ ด้านขาออก บริเวณ กม. 25 ครับ เป็นส่วนหนึ่งของการเพิ่มการใช้ยางพาราในประเทศตามนโยบายท่านนายกครับ
ในปัจจุบันงานของกระทรวงคมนาคมได้มีการประยุกต์ใช้ยางพารามาใช้กับงานถนน ใน 2 รูปแบบ ได้แก่
1. งานฉาบถนนโดยวิธีพาราสเลอรีซิล ซึ่งมีการใช้น้ำยางพาราข้นประมาณ 5-8 % โดยน้ำหนักมาเป็นส่วนผสมร่วมกับยางมะตอยเหลว ซึ่งในปัจจุบันกรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบทได้ทำการฉาบผิวด้วยวิธีนี้มาได้ 3 ปีแล้ว โดยถนนมีคุณภาพดีหลังจากเปิดใช้งาน
2. งานก่อสร้างถนนดำ หรือถนนยางมะตอย สำหรับการนำยางพารามาผสมกับยางมะตอยเพื่อก่อสร้างถนน ในปัจจุบันกรมทางหลวงได้ทำแปลงทดสอบบนทางหลวงหมายเลข 305 เส้นสายองค์รักษ์-นครนายก ซึ่งมีการทดลองผสมยางพาราลงไปประมาณ 5% โดยน้ำหนัก ซึ่งอยู่ในระหว่างการติดตามคุณภาพ
ปัจจุบันเรามีการใช้ยางมะตอยในประเทศ ปีละประมาณ 700,000 ตัน และส่งออกอีกปีละประมาณ 690,000 ตัน
ถ้าเราสามารถใช้ยางพาราเป็นส่วนผสมเพิ่ม ก็จะทำให้มีการใช้ยางพาราในประเทศมากขึ้น ซึ่งกระทรวงคมนาคมก็เร่งผลักดันการใช้ในส่วนนี้อยู่ครับ
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=556437947750395&set=a.552912478102942.1073741839.532747176786139&type=1&theater