คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 4
เพราะว่าลดช่องว่าการสับสนในการใช้ภาษาด้วย
เพราะการใช้ตัวฮันจาของเกาหลีต่างไปต่างญี่ปุ่นแน่นอน ตัวฮันจาของเกาหลีจะใช้เขียนคำเฉพาะเสียงจีนจริงๆ
ไม่เหมือนกรณีภาษาญี่ปุ่น ที่เขียนได้หลายแบบทั้งแบบคุนโยมิ<訓読み>ยึดความแต่ออกเสียงญี่ปุ่น หรืออนโยมิ<音読み>ยึดที่มาเป็นเสียงจากจีนเป็นหลัก
ส่วนในกรณีของเกาหลี การยืมคำต่างๆจากจีนโบราณมาใช้ในระบบเสียงที่มีความจำกัดของเกาหลีมากมาย จึงทำให้เกิดการออกเสียงซ้ำมากมาย
อย่างเช่น 문 อักษรฮันกึลของเกาหลีตัวนี้ผสมกันแล้วอ่านว่า มุน แต่ถ้าอยู่โดดๆโดยที่ไม่มีบริบทอื่นมาผสมแล้วจะไม่สามารถรู้ได้เลยว่าแปลอะไร
แต่ถ้าเขียนเป็นอักษรฮันจา หรือ ฮั่นจื้อ ปึ๊บจะรู้ทันทีว่าแปลว่าอะไร ว่ามุนตัวไหน 文 問 門 聞
นี่เป็นแค่ตัวอย่างเล็กน้อยยังไม่นับคำซ้ำ เช่น หากพิมพ์คำว่า 수정 ซูจอง ซึ่งบางทีก็ไม่รู้ว่าเป็นคำไหน ต่อให้มีบริบทอื่นๆ ซึ่งบางครั้งในหนังสือสๆคัญก็ต้องเขียนตัวจีนกำกับไว้
修整 นี่ก็อ่านว่า ซูจอง แปลว่า ซ่อม,ทำใหม่
修正 นี่ก็อ่านว่า ซูจอง แปลว่า แก้ไขส่วนที่ผิดพลาด
受精 นี่ก็อ่านว่าซูจอง แปลว่า การผสมพันธฺ
修訂 นี่ก็อ่านว่าซูจอง แปลว่า การปรับแต่งหนังสือใหม่
การนำอักษรจีนมาใช้เหมือนเป็นการเขียนโดยรักษารากศัพท์เอาไว้ เพื่อไม่ให้สับสนด้วย
เหมือนไทยรักษาการเขียนศัทพ์จากบาลีสันสกฤษ เราเขียน ภรรยา แทนที่จะ พันยา หรือ พันระยา
เพิ่มเติม การกรองเอกสารราชการนั้น กรณีที่ที่ชื่อบุคคลมีที่มาจากรากศัพท์จีนนั้น จะต้องมีการเขียนกำกับทุกครั้งในเอกสาร
เช่น ปาร์ก แจ ฮี 朴在喜 หรือเป็น 朴在希
อะไรทำนองนี้เป็นต้น
เพราะการใช้ตัวฮันจาของเกาหลีต่างไปต่างญี่ปุ่นแน่นอน ตัวฮันจาของเกาหลีจะใช้เขียนคำเฉพาะเสียงจีนจริงๆ
ไม่เหมือนกรณีภาษาญี่ปุ่น ที่เขียนได้หลายแบบทั้งแบบคุนโยมิ<訓読み>ยึดความแต่ออกเสียงญี่ปุ่น หรืออนโยมิ<音読み>ยึดที่มาเป็นเสียงจากจีนเป็นหลัก
ส่วนในกรณีของเกาหลี การยืมคำต่างๆจากจีนโบราณมาใช้ในระบบเสียงที่มีความจำกัดของเกาหลีมากมาย จึงทำให้เกิดการออกเสียงซ้ำมากมาย
อย่างเช่น 문 อักษรฮันกึลของเกาหลีตัวนี้ผสมกันแล้วอ่านว่า มุน แต่ถ้าอยู่โดดๆโดยที่ไม่มีบริบทอื่นมาผสมแล้วจะไม่สามารถรู้ได้เลยว่าแปลอะไร
แต่ถ้าเขียนเป็นอักษรฮันจา หรือ ฮั่นจื้อ ปึ๊บจะรู้ทันทีว่าแปลว่าอะไร ว่ามุนตัวไหน 文 問 門 聞
นี่เป็นแค่ตัวอย่างเล็กน้อยยังไม่นับคำซ้ำ เช่น หากพิมพ์คำว่า 수정 ซูจอง ซึ่งบางทีก็ไม่รู้ว่าเป็นคำไหน ต่อให้มีบริบทอื่นๆ ซึ่งบางครั้งในหนังสือสๆคัญก็ต้องเขียนตัวจีนกำกับไว้
修整 นี่ก็อ่านว่า ซูจอง แปลว่า ซ่อม,ทำใหม่
修正 นี่ก็อ่านว่า ซูจอง แปลว่า แก้ไขส่วนที่ผิดพลาด
受精 นี่ก็อ่านว่าซูจอง แปลว่า การผสมพันธฺ
修訂 นี่ก็อ่านว่าซูจอง แปลว่า การปรับแต่งหนังสือใหม่
การนำอักษรจีนมาใช้เหมือนเป็นการเขียนโดยรักษารากศัพท์เอาไว้ เพื่อไม่ให้สับสนด้วย
เหมือนไทยรักษาการเขียนศัทพ์จากบาลีสันสกฤษ เราเขียน ภรรยา แทนที่จะ พันยา หรือ พันระยา
เพิ่มเติม การกรองเอกสารราชการนั้น กรณีที่ที่ชื่อบุคคลมีที่มาจากรากศัพท์จีนนั้น จะต้องมีการเขียนกำกับทุกครั้งในเอกสาร
เช่น ปาร์ก แจ ฮี 朴在喜 หรือเป็น 朴在希
อะไรทำนองนี้เป็นต้น
แสดงความคิดเห็น
ทำไมเกาหลีใต้ถึงกำลังจะกลับไปใช้อักษรจีนในภาษาเกาหลี
http://www.koreabang.com/2013/stories/protests-over-plan-to-bring-hanja-education-back-to-schools.html
The spark for this latest conflagration was the decision by the Seoul Department of Education to expand hanja education in its elementary and middle schools starting in the 2013 fall semester
On July 3rd, civic groups devoted to hangul and parents of schoolchildren gathered in front of the Department of Education’s office building in Jongro and held a press conference detailing their opposition to teaching hanja in elementary schools.
The Coalition for Hangul Culture, the Association for Hangul Studies, and other hangul organizations, New Right parent associations which typically voice their concerns about the Department of Education’s policies, conservative education groups and progressive education groups all stood side by side in presenting their position during the meeting.
South Korean elementary schools had been using hangul-only textbooks for the past forty years, however the hanja expansion policy introduced by Moon Yong-rin, Chairman of the Seoul Department of Education, would have marked a change back toward hanja-based education. This fundamental change lead to the unusually unified opposition showing on July 3rd.
Starting in the fall, the Seoul Department of Education will implement a policy that encourages city elementary and middle schools to use textbooks that prioritize learning hanja terminology. The department is currently looking at the demands of teaching hanja and parents’ concerns in regards to hanja education.
Hangul advocates and a number of education civic groups have branded the policy “a return to the past.”
According to critics, “Chairman Moon is advocating for the cause of teaching hanja in school because he believes that it is difficult to understand the words in the textbooks, but he is doing so based solely on his personal feelings rather than any objective evidence.”
Note: Hanja = Hanzi = Kanji = Chinese Chracters