สอบถามเรื่องราวดังต่อไปนี้ค่ะ
คุณพ่อรับราชการ มีภรรยาสามคน คนแรก นาง ก ไม่ได้จดทะเบียน มีลูก 2 คน
นาง ข จดทะเบียน และเสียชีวิตแล้ว ไม่มีลูก
นาง ค จดทะเบียน มีลูก 1 คน (แม่เราเองและเราเอง)
ระหว่างที่นาง ข ยังมีชีวิตอยู่ พ่อเราได้จดทะเบียนกับนาง ค (ทะเบียนซ้อน) ต่อมาเมื่อนาง ข เสียชีวิต พ่ออยากจะทำให้ถูกต้อง จึงพาแม่ไปจดทะเบียนหย่า แล้วจดทะเบียนใหม่ในวันเดียวกัน
หลังจากนั้นอีกหลายสิบปี พ่อเสียชีวิต ทางลูกของนาง ก ได้ยื่นคัดค้านว่าแม่เราไม่มีสิทธิในบำเหน็จของพ่อ เพราะว่าแม่เราจดทะเบียนซ้อนตั้งแต่แรก
เราสงสัยในข้อกฏหมายค่ะ
1. แบบนี้แม่เราถือว่าจดทะเบียนซ้อนในครั้งแรก มีผลต่อการจดทะเบียนในครั้งที่สองรึเปล่าคะ
2. การมีนาง ข ได้เสียชีวิตไปแล้ว โดยก่อนเสียชีวิต ไม่ได้จดทะเบียนหย่าขาด จะถือว่า พ่อเรายังจดทะเบียนกับนาง ข รึเปล่าคะ
ขอบคุณมาก ๆ ค่ะ
เรื่องการจดทะเบียนสมรสซ้อน
คุณพ่อรับราชการ มีภรรยาสามคน คนแรก นาง ก ไม่ได้จดทะเบียน มีลูก 2 คน
นาง ข จดทะเบียน และเสียชีวิตแล้ว ไม่มีลูก
นาง ค จดทะเบียน มีลูก 1 คน (แม่เราเองและเราเอง)
ระหว่างที่นาง ข ยังมีชีวิตอยู่ พ่อเราได้จดทะเบียนกับนาง ค (ทะเบียนซ้อน) ต่อมาเมื่อนาง ข เสียชีวิต พ่ออยากจะทำให้ถูกต้อง จึงพาแม่ไปจดทะเบียนหย่า แล้วจดทะเบียนใหม่ในวันเดียวกัน
หลังจากนั้นอีกหลายสิบปี พ่อเสียชีวิต ทางลูกของนาง ก ได้ยื่นคัดค้านว่าแม่เราไม่มีสิทธิในบำเหน็จของพ่อ เพราะว่าแม่เราจดทะเบียนซ้อนตั้งแต่แรก
เราสงสัยในข้อกฏหมายค่ะ
1. แบบนี้แม่เราถือว่าจดทะเบียนซ้อนในครั้งแรก มีผลต่อการจดทะเบียนในครั้งที่สองรึเปล่าคะ
2. การมีนาง ข ได้เสียชีวิตไปแล้ว โดยก่อนเสียชีวิต ไม่ได้จดทะเบียนหย่าขาด จะถือว่า พ่อเรายังจดทะเบียนกับนาง ข รึเปล่าคะ
ขอบคุณมาก ๆ ค่ะ