http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B9%8C
สตาร์อัลไลแอนซ์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สตาร์อัลไลแอนซ์ (อังกฤษ: Star Alliance) เป็น เครือข่ายพันธมิตรสายการบินขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ก่อตั้งเมื่อ14 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 โดยมีสายการบินก่อตั้ง 5 สายการบินคือ แอร์แคนาดา ลุฟต์ฮันซา ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม และการบินไทย ปัจจุบันมีสายการบินเข้าร่วมจำนวน 28 สายการบิน มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองฟรังค์ฟูร์ทอัมไมน์ ประเทศเยอรมนี โดยสายการบินทั้งหมดที่ร่วมด้วยจะมีความร่วมมือกันดังนี้
ผู้เดินทางเปลี่ยนเครื่องจะได้รับความสะดวกมากขึ้น สามารถใช้บัตรโดยสารใบเดียวตลอดเส้นทางได้
สามารถนำแต้มสะสมที่ได้จากสายการบินในเครือข่ายไปสะสมหรือใช้แต้มกับรายการสะสมแต้มของสายการบินอื่นๆในเครือข่ายได้
ผู้ใช้บริการในชั้นธุรกิจและชั้นหนึ่งของสายการบินในเครือข่ายสามารถใช้บริการห้องรับรองของสายการบินอื่นๆในเครือข่ายได้
มีการพัฒนาระบบสารสนเทศร่วมกัน
ปัจจุบันเครือข่ายมีการให้บริการเที่ยวบินวันละ 21,555 เที่ยวต่อวัน ในท่าอากาศยาน 1,329 แห่ง ใน 195 ประเทศ มีอากาศยานรวมกันกว่า 4,570 ลำ มีปริมาณผู้โดยสารกว่า 678.5 ล้านคน ทั่วโลก
สายการบินสมาชิก
แอร์แคนาดา, ลุฟต์ฮันซ่า, สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์, การบินไทย และยูไนเต็ดแอร์ไลน์ สายการบินผู้ร่วมก่อตั้งสตาร์อัลไลนแอนซ์
สโลวีเนีย เอเดรียแอร์เวย์ [1]
แคนาดา แอร์แคนาดา+ [2]
ประเทศจีน แอร์ไชนา [3]
นิวซีแลนด์ แอร์นิวซีแลนด์ [4]
ญี่ปุ่น ออลนิปปอนแอร์เวย์ (ANA) [5]
เกาหลีใต้ เอเชียน่า [6]
ออสเตรีย ออสเตรียแอร์ไลน์ [7]
โคลอมเบีย เอวิอองกา-ทาคา [8]
ฟินแลนด์ บลูวัน [9]
เบลเยียม บริสเซิลแอร์ไลน์ [10]
โครเอเชีย โครเอเชียแอร์ไลน์ [11]
ปานามา โคปาแอร์ไลน์ [12]
อียิปต์ อียิปต์แอร์ [13]
โปแลนด์ ล็อตโปแลนด์ [14]
เยอรมนี ลุฟต์ฮันซา+ [15]
สวีเดน นอร์เวย์ เดนมาร์ก สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม (SAS) + [16]
สิงคโปร์ สิงคโปร์แอร์ไลน์ [17]
แอฟริกาใต้ เซาต์แอฟริกันแอร์เวย์ [18]
สวิตเซอร์แลนด์ สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ [19]
โปรตุเกส แท็ป โปรตุเกส [20]
ไทย การบินไทย+ [21]
ตุรกี ตุรกีแอร์ไลน์ [22]
สหรัฐอเมริกา ยูไนเต็ดแอร์ไลน์+ [23]
สหรัฐอเมริกา ยูเอสแอร์เวย์ [24]
ประเทศกรีซ เอเจี่ยนแอร์ไลน์ [25]
บราซิล แทมแอร์ไลน์ [26]
เอธิโอเปีย เอธิโอเปียแอร์ไลน์[2] [27] (กันยายน 2011)
สาธารณรัฐจีน อีวีเอแอร์
หมายเหตุ +: สายการบินผู้ร่วมก่อตั้ง
สมาชิกในอนาคต[แก้]
ประเทศกรีซ โอลิมปิกแอร์ [28] (2010)
สมาชิกในอดีต
ออสเตรเลีย แอนเซตต์ออสเตรเลีย — ล้มละลายในปี 2544 (ค.ศ. 2001)
เม็กซิโก เม็กซิกานา — ลาออกจากเครือข่ายเนื่องจากมีปัญหาเกี่ยวกับการใช้เที่ยวบินร่วมกับยูไนเต็ดแอร์ไลน์
บราซิล วาริก — ออกจากเครือข่ายในวันที่ 31 มกราคม 2550 (ค.ศ. 2007) เพื่อปรับโครงสร้างหนี้
ประเทศจีน เซี่ยงไฮ้แอร์ไลน์ [29] - ออกจากเครือข่ายในปี ค.ศ. 2010 เนื่องจากการควบรวมกิจการกับไชน่าอีสต์เทิร์นแอร์ไลน์
สหราชอาณาจักร บริติช มิดแลนด์ [30] - ออกจากเครือข่ายในปี ค.ศ. 2012 และรวมสายการบินกับ บริติชแอร์เวย์
สหรัฐอเมริกา คอนติเนนตอลแอร์ไลน์ [31] - รวมสายการบินกับ ยูไนเต็ดแอร์ไลน์
----------------------------------------------------------------------------
วันเวิลด์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตราสัญลักษณ์ของ วันเวิลด์
วันเวิลด์ (อังกฤษ: Oneworld) เป็นเครือข่ายพันธมิตรสายการบินลำดับ 3 ของโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) ปัจจุบันมีสายการบินเข้าร่วมจำนวน 11 สายการบิน
ปัจจุบันเครือข่ายมีการให้บริการเที่ยวบินวันละกว่า 9,300 เที่ยวต่อวัน กว่า 870 จุดหมายปลายทาง ใน 146 ประเทศทั่วโลก
สายการบินสมาชิก[แก้]
เยอรมนี แอร์เบอลิน
สหรัฐอเมริกา อเมริกันแอร์ไลน์ +
สหราชอาณาจักร บริติชแอร์เวย์ +
ฮ่องกง คาเธ่ย์แปซิฟิค +
ฟินแลนด์ ฟินน์แอร์
สเปน ไอบีเรีย
ญี่ปุ่น เจแปนแอร์ไลน์
ชิลี แลนแอร์ไลน์
มาเลเซีย มาเลเซียแอร์ไลน์ (1 กุมภาพันธ์ 2556)
ออสเตรเลีย ควอนตัส +
จอร์แดน รอยัลจอร์แดเนียน
รัสเซีย เอสเซเวน แอร์ไลน์
หมายเหตุ +: สายการบินผู้ร่วมก่อตั้ง
สมาชิกในอดีต[แก้]
ประเทศไอร์แลนด์ แอร์ลินกัส- ออกจากเครือข่ายในเดือน เมษายน พ.ศ. 2550
แคนาดา แคนาเดียนแอร์ไลน์+ - ถูกรวมกิจการกับ แอร์ แคนาดา ในปี พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001)
ฮังการี มาเลฟฮังกาเรียนแอร์ไลน์ - ถูกศาลสั่งให้เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว ล้มละลายเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012)
หมายเหตุ +: สายการบินผู้ร่วมก่อตั้ง
-------------------------------------------------------------
สกายทีม (อังกฤษ: Skyteam) เป็นเครือข่ายพันธมิตรสายการบินขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ปัจจุบันมีสายการบินเข้าร่วมเป็นสมาชิกจำนวน 15 สายการบิน และกำลังจะเข้าร่วมเพิ่มอีก 4 สายการบิน
ปัจจุบันเครือข่ายมีการให้บริการเที่ยวบินวันละกว่า 14,000 เที่ยว ในท่าอากาศยาน 926 แห่ง ใน 173 ประเทศ
2000 — Aeroméxico, Air France, Delta Air Lines, และ Korean Air ก่อตั้ง SkyTeam ในวันที่ 22 มิถุนายน
2001 — CSA Czech Airlines (ในเดือนมีนาคม) และ Alitalia (ในวันที่ 27 กรกฎาคม) เข้าร่วม
2004 — Continental Airlines, KLM Royal Dutch Airlines และ Northwest Airlines เข้าร่วมวันที่ 13 กันยายน โดยการเข้าร่วมครั้งนี้เป็นการขยายขนาดพันธมิตรที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้ SkyTeam กลายเป็นพันธมิตรที่ใหญ่เป็นอันดับสองแทนที่ Oneworld
2005 — แม้ว่าสมาชิกปัจจุบัน CSA ให้สัญญาว่าจะช่วย Malév Hungarian Airlines ในการร่วมเป็นสมาชิกแบบ associate แต่ Malév ก็เข้าร่วมกลับกลุ่ม Oneworld โดยลงชื่อใน Memorandum Of Understanding ในช่วงปลายพฤษภาคม ไม่กี่วันต่อมา SkyTeam ประกาศสี่รายชื่อสมาชิก associate ที่จะเข้าร่วมใน 2006 โดยแต่ละสมาชิกจะถูกสนับสนุนโดยสมาชิกปัจจุบัน : Air Europa (ถูกสนับสนุนโดย Air France), Copa Airlines (ถูกสนับสนุนและครอบครองส่วนหนึ่งโดย Continental Airlines), Kenya Airways (ถูกสนับสนุนและครอบครองส่วนหนึ่งโดย KLM) และ Romania's Tarom (ถูกสนับสนุนโดย Alitalia) ทุกสมาชิก associate จะนำ Frequent flyer program ของสมาชิก Full มาใช้ :Copa Airlines ใช้ Continental's OnePass อยู่ก่อนแล้ว ขณะที่ Kenya Airways และ Air Europa ใช้ Air France-KLM's Flying Blue
2006 — Aeroflot เข้าร่วมในวันที่ 14 เมษายน Middle East Airlines ถูกเชิญให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกแบบ associate
2007 — Air Europa, Copa Airlines, Kenya Airways กลายเป็นสมาชิก associate ของพันธมิตรในวันที่ 1 กันยายน China Southern Airlines เข้าร่วม SkyTeam ในวันที่ 15 พฤศจิกายน โดยเป็นสมาชิกแบบ full อันดับที่ 11 และสายการบินแรกจากจีนแผ่นดินใหญ่ที่เข้าร่วมในพันธมิตรสายการบินระดับโลก
2008 - Continental Airlines และ Copa Airlines ประกาศความตั้งใจที่จะย้ายไปยัง Star Alliance
2009 - Vietnam Airlines ได้ถูกเชิญให้เข้าร่วมพันธมิตร ส่วนContinental Airlines และ Copa Airlines ออกจาก Skyteam เมื่อวันที่24 ตุลาคม พ.ศ. 2552 โดย Continental Airlines ย้ายไปอยู่ Star Alliance เมื่อวันที่27 ตุลาคม พ.ศ. 2552
2010 - Vietnam Airlines ได้เข้าร่วมอย่างสมบูรณ์ ส่วน North West Airlines ได้ร่วมสายการบินกับ เดลตาแอร์ไลน์
2012 - Saudia Airlines , Middle East Airlines , Tarom Airlines และ Areolineas Argentinas ได้เข้าร่วมกับ สกายทีม
สายการบินที่เข้าร่วม[แก้]
สายการบินสมาชิก[แก้]
แอโรฟลอต [1] รัสเซีย
แอโรลิเนียส์ อาร์เจนตินา [2] อาร์เจนตินา
แอโร เม็กซิโก+ [3] เม็กซิโก
แอร์ฟรานซ์+ [4]-เคแอลเอ็ม [5] ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์
แอร์ ยูโรปา [6] สเปน
อลิตาเลีย [7] อิตาลี
ไชนาแอร์ไลน์[8]สาธารณรัฐจีน
ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์[9]ประเทศจีน
ไชน่าเซาท์เทิร์นแอร์ไลน์[10] ประเทศจีน
เช็ค แอร์ไลน์ [11] สาธารณรัฐเช็ก
เดลต้า แอร์ไลน์+ [12] สหรัฐอเมริกา
เคนยาแอร์เวย์ [13] เคนยา
โคเรียนแอร์+ [14] เกาหลีใต้
มีดเดิลอีส แอร์ไลน์ [15] เลบานอน
ซาอุเดีย [16] ซาอุดีอาระเบีย
ทารอน แอร์ [17] โรมาเนีย
เวียดนามแอร์ไลน์ [18] เวียดนาม
เซียะเหมินแอร์ [19] ประเทศจีน
หมายเหตุ +: สายการบินผู้ร่วมก่อตั้ง
สตาร์อัลไลแอนซ์ Star Alliance | สกายทีม Skyteam | วันเวิลด์ Oneworld อันไหนโอกว่า
สตาร์อัลไลแอนซ์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สตาร์อัลไลแอนซ์ (อังกฤษ: Star Alliance) เป็น เครือข่ายพันธมิตรสายการบินขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ก่อตั้งเมื่อ14 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 โดยมีสายการบินก่อตั้ง 5 สายการบินคือ แอร์แคนาดา ลุฟต์ฮันซา ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม และการบินไทย ปัจจุบันมีสายการบินเข้าร่วมจำนวน 28 สายการบิน มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองฟรังค์ฟูร์ทอัมไมน์ ประเทศเยอรมนี โดยสายการบินทั้งหมดที่ร่วมด้วยจะมีความร่วมมือกันดังนี้
ผู้เดินทางเปลี่ยนเครื่องจะได้รับความสะดวกมากขึ้น สามารถใช้บัตรโดยสารใบเดียวตลอดเส้นทางได้
สามารถนำแต้มสะสมที่ได้จากสายการบินในเครือข่ายไปสะสมหรือใช้แต้มกับรายการสะสมแต้มของสายการบินอื่นๆในเครือข่ายได้
ผู้ใช้บริการในชั้นธุรกิจและชั้นหนึ่งของสายการบินในเครือข่ายสามารถใช้บริการห้องรับรองของสายการบินอื่นๆในเครือข่ายได้
มีการพัฒนาระบบสารสนเทศร่วมกัน
ปัจจุบันเครือข่ายมีการให้บริการเที่ยวบินวันละ 21,555 เที่ยวต่อวัน ในท่าอากาศยาน 1,329 แห่ง ใน 195 ประเทศ มีอากาศยานรวมกันกว่า 4,570 ลำ มีปริมาณผู้โดยสารกว่า 678.5 ล้านคน ทั่วโลก
สายการบินสมาชิก
แอร์แคนาดา, ลุฟต์ฮันซ่า, สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์, การบินไทย และยูไนเต็ดแอร์ไลน์ สายการบินผู้ร่วมก่อตั้งสตาร์อัลไลนแอนซ์
สโลวีเนีย เอเดรียแอร์เวย์ [1]
แคนาดา แอร์แคนาดา+ [2]
ประเทศจีน แอร์ไชนา [3]
นิวซีแลนด์ แอร์นิวซีแลนด์ [4]
ญี่ปุ่น ออลนิปปอนแอร์เวย์ (ANA) [5]
เกาหลีใต้ เอเชียน่า [6]
ออสเตรีย ออสเตรียแอร์ไลน์ [7]
โคลอมเบีย เอวิอองกา-ทาคา [8]
ฟินแลนด์ บลูวัน [9]
เบลเยียม บริสเซิลแอร์ไลน์ [10]
โครเอเชีย โครเอเชียแอร์ไลน์ [11]
ปานามา โคปาแอร์ไลน์ [12]
อียิปต์ อียิปต์แอร์ [13]
โปแลนด์ ล็อตโปแลนด์ [14]
เยอรมนี ลุฟต์ฮันซา+ [15]
สวีเดน นอร์เวย์ เดนมาร์ก สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม (SAS) + [16]
สิงคโปร์ สิงคโปร์แอร์ไลน์ [17]
แอฟริกาใต้ เซาต์แอฟริกันแอร์เวย์ [18]
สวิตเซอร์แลนด์ สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ [19]
โปรตุเกส แท็ป โปรตุเกส [20]
ไทย การบินไทย+ [21]
ตุรกี ตุรกีแอร์ไลน์ [22]
สหรัฐอเมริกา ยูไนเต็ดแอร์ไลน์+ [23]
สหรัฐอเมริกา ยูเอสแอร์เวย์ [24]
ประเทศกรีซ เอเจี่ยนแอร์ไลน์ [25]
บราซิล แทมแอร์ไลน์ [26]
เอธิโอเปีย เอธิโอเปียแอร์ไลน์[2] [27] (กันยายน 2011)
สาธารณรัฐจีน อีวีเอแอร์
หมายเหตุ +: สายการบินผู้ร่วมก่อตั้ง
สมาชิกในอนาคต[แก้]
ประเทศกรีซ โอลิมปิกแอร์ [28] (2010)
สมาชิกในอดีต
ออสเตรเลีย แอนเซตต์ออสเตรเลีย — ล้มละลายในปี 2544 (ค.ศ. 2001)
เม็กซิโก เม็กซิกานา — ลาออกจากเครือข่ายเนื่องจากมีปัญหาเกี่ยวกับการใช้เที่ยวบินร่วมกับยูไนเต็ดแอร์ไลน์
บราซิล วาริก — ออกจากเครือข่ายในวันที่ 31 มกราคม 2550 (ค.ศ. 2007) เพื่อปรับโครงสร้างหนี้
ประเทศจีน เซี่ยงไฮ้แอร์ไลน์ [29] - ออกจากเครือข่ายในปี ค.ศ. 2010 เนื่องจากการควบรวมกิจการกับไชน่าอีสต์เทิร์นแอร์ไลน์
สหราชอาณาจักร บริติช มิดแลนด์ [30] - ออกจากเครือข่ายในปี ค.ศ. 2012 และรวมสายการบินกับ บริติชแอร์เวย์
สหรัฐอเมริกา คอนติเนนตอลแอร์ไลน์ [31] - รวมสายการบินกับ ยูไนเต็ดแอร์ไลน์
----------------------------------------------------------------------------
วันเวิลด์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตราสัญลักษณ์ของ วันเวิลด์
วันเวิลด์ (อังกฤษ: Oneworld) เป็นเครือข่ายพันธมิตรสายการบินลำดับ 3 ของโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) ปัจจุบันมีสายการบินเข้าร่วมจำนวน 11 สายการบิน
ปัจจุบันเครือข่ายมีการให้บริการเที่ยวบินวันละกว่า 9,300 เที่ยวต่อวัน กว่า 870 จุดหมายปลายทาง ใน 146 ประเทศทั่วโลก
สายการบินสมาชิก[แก้]
เยอรมนี แอร์เบอลิน
สหรัฐอเมริกา อเมริกันแอร์ไลน์ +
สหราชอาณาจักร บริติชแอร์เวย์ +
ฮ่องกง คาเธ่ย์แปซิฟิค +
ฟินแลนด์ ฟินน์แอร์
สเปน ไอบีเรีย
ญี่ปุ่น เจแปนแอร์ไลน์
ชิลี แลนแอร์ไลน์
มาเลเซีย มาเลเซียแอร์ไลน์ (1 กุมภาพันธ์ 2556)
ออสเตรเลีย ควอนตัส +
จอร์แดน รอยัลจอร์แดเนียน
รัสเซีย เอสเซเวน แอร์ไลน์
หมายเหตุ +: สายการบินผู้ร่วมก่อตั้ง
สมาชิกในอดีต[แก้]
ประเทศไอร์แลนด์ แอร์ลินกัส- ออกจากเครือข่ายในเดือน เมษายน พ.ศ. 2550
แคนาดา แคนาเดียนแอร์ไลน์+ - ถูกรวมกิจการกับ แอร์ แคนาดา ในปี พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001)
ฮังการี มาเลฟฮังกาเรียนแอร์ไลน์ - ถูกศาลสั่งให้เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว ล้มละลายเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012)
หมายเหตุ +: สายการบินผู้ร่วมก่อตั้ง
-------------------------------------------------------------
สกายทีม (อังกฤษ: Skyteam) เป็นเครือข่ายพันธมิตรสายการบินขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ปัจจุบันมีสายการบินเข้าร่วมเป็นสมาชิกจำนวน 15 สายการบิน และกำลังจะเข้าร่วมเพิ่มอีก 4 สายการบิน
ปัจจุบันเครือข่ายมีการให้บริการเที่ยวบินวันละกว่า 14,000 เที่ยว ในท่าอากาศยาน 926 แห่ง ใน 173 ประเทศ
2000 — Aeroméxico, Air France, Delta Air Lines, และ Korean Air ก่อตั้ง SkyTeam ในวันที่ 22 มิถุนายน
2001 — CSA Czech Airlines (ในเดือนมีนาคม) และ Alitalia (ในวันที่ 27 กรกฎาคม) เข้าร่วม
2004 — Continental Airlines, KLM Royal Dutch Airlines และ Northwest Airlines เข้าร่วมวันที่ 13 กันยายน โดยการเข้าร่วมครั้งนี้เป็นการขยายขนาดพันธมิตรที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้ SkyTeam กลายเป็นพันธมิตรที่ใหญ่เป็นอันดับสองแทนที่ Oneworld
2005 — แม้ว่าสมาชิกปัจจุบัน CSA ให้สัญญาว่าจะช่วย Malév Hungarian Airlines ในการร่วมเป็นสมาชิกแบบ associate แต่ Malév ก็เข้าร่วมกลับกลุ่ม Oneworld โดยลงชื่อใน Memorandum Of Understanding ในช่วงปลายพฤษภาคม ไม่กี่วันต่อมา SkyTeam ประกาศสี่รายชื่อสมาชิก associate ที่จะเข้าร่วมใน 2006 โดยแต่ละสมาชิกจะถูกสนับสนุนโดยสมาชิกปัจจุบัน : Air Europa (ถูกสนับสนุนโดย Air France), Copa Airlines (ถูกสนับสนุนและครอบครองส่วนหนึ่งโดย Continental Airlines), Kenya Airways (ถูกสนับสนุนและครอบครองส่วนหนึ่งโดย KLM) และ Romania's Tarom (ถูกสนับสนุนโดย Alitalia) ทุกสมาชิก associate จะนำ Frequent flyer program ของสมาชิก Full มาใช้ :Copa Airlines ใช้ Continental's OnePass อยู่ก่อนแล้ว ขณะที่ Kenya Airways และ Air Europa ใช้ Air France-KLM's Flying Blue
2006 — Aeroflot เข้าร่วมในวันที่ 14 เมษายน Middle East Airlines ถูกเชิญให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกแบบ associate
2007 — Air Europa, Copa Airlines, Kenya Airways กลายเป็นสมาชิก associate ของพันธมิตรในวันที่ 1 กันยายน China Southern Airlines เข้าร่วม SkyTeam ในวันที่ 15 พฤศจิกายน โดยเป็นสมาชิกแบบ full อันดับที่ 11 และสายการบินแรกจากจีนแผ่นดินใหญ่ที่เข้าร่วมในพันธมิตรสายการบินระดับโลก
2008 - Continental Airlines และ Copa Airlines ประกาศความตั้งใจที่จะย้ายไปยัง Star Alliance
2009 - Vietnam Airlines ได้ถูกเชิญให้เข้าร่วมพันธมิตร ส่วนContinental Airlines และ Copa Airlines ออกจาก Skyteam เมื่อวันที่24 ตุลาคม พ.ศ. 2552 โดย Continental Airlines ย้ายไปอยู่ Star Alliance เมื่อวันที่27 ตุลาคม พ.ศ. 2552
2010 - Vietnam Airlines ได้เข้าร่วมอย่างสมบูรณ์ ส่วน North West Airlines ได้ร่วมสายการบินกับ เดลตาแอร์ไลน์
2012 - Saudia Airlines , Middle East Airlines , Tarom Airlines และ Areolineas Argentinas ได้เข้าร่วมกับ สกายทีม
สายการบินที่เข้าร่วม[แก้]
สายการบินสมาชิก[แก้]
แอโรฟลอต [1] รัสเซีย
แอโรลิเนียส์ อาร์เจนตินา [2] อาร์เจนตินา
แอโร เม็กซิโก+ [3] เม็กซิโก
แอร์ฟรานซ์+ [4]-เคแอลเอ็ม [5] ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์
แอร์ ยูโรปา [6] สเปน
อลิตาเลีย [7] อิตาลี
ไชนาแอร์ไลน์[8]สาธารณรัฐจีน
ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์[9]ประเทศจีน
ไชน่าเซาท์เทิร์นแอร์ไลน์[10] ประเทศจีน
เช็ค แอร์ไลน์ [11] สาธารณรัฐเช็ก
เดลต้า แอร์ไลน์+ [12] สหรัฐอเมริกา
เคนยาแอร์เวย์ [13] เคนยา
โคเรียนแอร์+ [14] เกาหลีใต้
มีดเดิลอีส แอร์ไลน์ [15] เลบานอน
ซาอุเดีย [16] ซาอุดีอาระเบีย
ทารอน แอร์ [17] โรมาเนีย
เวียดนามแอร์ไลน์ [18] เวียดนาม
เซียะเหมินแอร์ [19] ประเทศจีน
หมายเหตุ +: สายการบินผู้ร่วมก่อตั้ง