คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
ตามในมาตรฐาน ภาคผนวก ญ.
Earth fault loop impedance ของวงจรต้องน้อยกว่า Maximum earth fault loop impedance ของเซอร์กิตเบรกเกอร์
เช่นถ้าเราสมมุติว่าใช้สายดินเป็นสายทองแดงขนาด 1.5 ตร.มม. มีค่า Impedance 13.027+j0.149 โอห์ม/กม. คูณความยาวของสายดิน
แล้วก็เอาค่าอิมพีแดนซ์นี้ ไปรวมกับค่าอิมพีแดนซ์ของสายจำหน่ายเช่น สายเข้ามิเตอร์ สายออกมิเตอร์ สายวงจรย่อย
ก็จะได้อิมพีแดนซ์รวมออกมา นั่นคือค่า Earth fault loop impedance ถ้านี้ค่านี้น้อยกว่าค่า Maximum earth fault loop impedance (Zs = Uo/Ia)
ก็ถือว่าขนาดนายดิน 1.5 ตร.มม.นี้ใช้ได้ ถ้าค่ายังมากกว่า Maximum earth fault loop impedance ก็ไปลดค่าอิมพีแดนซ์ของสายดินนั่นก็คือ
การเพิ่มขนาดสายดินให้ใหญ่ขื้น ซึ่งอาจจะทำให้ขนาดสายดินใหญ่เท่ากับสายเฟสก็ได้
Earth fault loop impedance ของวงจรต้องน้อยกว่า Maximum earth fault loop impedance ของเซอร์กิตเบรกเกอร์
เช่นถ้าเราสมมุติว่าใช้สายดินเป็นสายทองแดงขนาด 1.5 ตร.มม. มีค่า Impedance 13.027+j0.149 โอห์ม/กม. คูณความยาวของสายดิน
แล้วก็เอาค่าอิมพีแดนซ์นี้ ไปรวมกับค่าอิมพีแดนซ์ของสายจำหน่ายเช่น สายเข้ามิเตอร์ สายออกมิเตอร์ สายวงจรย่อย
ก็จะได้อิมพีแดนซ์รวมออกมา นั่นคือค่า Earth fault loop impedance ถ้านี้ค่านี้น้อยกว่าค่า Maximum earth fault loop impedance (Zs = Uo/Ia)
ก็ถือว่าขนาดนายดิน 1.5 ตร.มม.นี้ใช้ได้ ถ้าค่ายังมากกว่า Maximum earth fault loop impedance ก็ไปลดค่าอิมพีแดนซ์ของสายดินนั่นก็คือ
การเพิ่มขนาดสายดินให้ใหญ่ขื้น ซึ่งอาจจะทำให้ขนาดสายดินใหญ่เท่ากับสายเฟสก็ได้
แสดงความคิดเห็น
สอบถาม วิธีคิด ขนาดสายกราวด์ ตามตารางของ วสท. ครับ
ตามตารางที่ 4.1 เขาใช้สูตรไหน ในการหาขนาด สายกราวด์ครับ
ตามตารางที่ 4.2 เขาใช้สูตรไหนในการหาขนาดสายกราวด์ครับ
บังเอิญตอนใช้งานที่ไรก็เปิดแต่ในตารางทุกที อยากรู้ที่มา ที่ไป ว่าเขาใช้หลักการและวิธีการคำนวนอย่างไรครับ
รบกวนผู้รู้บอกหน่อย