คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 34
ประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ระวางโทษ จำคุก ไม่เกิน 10 ปี โทษปรับจำไม่ได้(แฮ่ะๆ)
หมายความว่า ศาลจะลงโทษ จำคุก เท่าไหร่ ก็ได้ แต่ไม่เกิน 10 ปี
ทั้งนี้ ดูจากข้อเท็จจริง และพฤิตการณ์แห่งการกระทำ รวมทั้งการบรรเทาผลร้ายของผู้ต้องหา
ว่าได้บรรเทาผลร้ายนั้น ให้แก่ผู้เสียหายหรือไม่
จากเคสนี้ ต้องไปดูในคดีอาญา ให้ตำรวจ ชี้ว่า ใครผิด ใครถูก มากกว่ากัน
ให้ ตร. ชี้ ถึงพฤติการณืของคนตายด้วย แต่โดยท้ายที่สุด ฝ่านนั้นตาย คดีอาญา ก็เป็นอันยุติ(สำหรับเขา)
แต่เราสมรถเอาพฤติการณ์ของฝ่านนั้น มานำสืบประกอบได้อยู่(เมา ไม่สวมหมวก ขับเร้ว ขับผิดช่องทาง ย้อนศร ไม่มีใบขับชี่ เป็นต้น) ไม่ใช่ว่าจะเขียนเล่นแต่เราอย่างเดียว
จากนั้น ไปว่า กันที่ ชั้นศาล นำสืบพฤติการณ์ คู่กรณี
นำสืบ การบรรเทาผลร้าย เราได้ช่วย(ตามมนุษยธรรม) แก่ฝ่ายนั้น ยังไง หรือไม่ จบไหม เค้ายังติดใจอยู่ไหม
ถ้าศาลเห็นว่า ฝ่ายนั้นก็ประมาทไม่ยิ่งหย่อนกว่าเราเท่าไหร่
เราบรรเทาผลร้าย ให้ยุติกันไปแล้ว
ศาลท่านก็จะ ลงโทษ ในระดับที่ไม่หนักมาก(ศาลจะมีหลักเทียบของเค้าอยู่)
ส่วนใหญ่จะลงโทษจำคุก ไม่เกิน 2 ปี(ดูพฤติการณ์เป็นหลัก)
แล้วพอโทษ ไม่ถึง 2 ปี มันเข้าเหตุเบาเทาโทษ เหตุลดโทษ
ศาลอาจจะลดโทษ ลง หรือ ให้รอการลงโทษไว้ก่อนก็ได้(ตามกม. จำคุกไม่เกิน 2-3 ปี ศาลรอการลงโทษได้)
โดยอาจจะให้งดเว้นใบขับขี่เรา 6 เดือน-1 ปี บำเพ็ญประโยชน์ แล้วตรวจสอบพฤติกรรมเรา ว่าเรายังมีพฤติกรรมแบบเดิมอยู่หรือไม่ สัก 3-5 ปี(รายงานตัวทุก 6 เดือน)
ดังนั้น โทษ ในคดี ประมาท ถึงแก่ความตาย ไม่ได้เลวร้ายมากครับ
ศาลท่านไม่ค่อยจะเอาคนที่ทำผิดในลักษณะนี้เข้าคุกสักเท่าไหร่ เก็บคุกไว้ให้คดีหนักๆกว่านี้ดีกว่า
โดย เน้น การเยียวยาความเสียหาย การบรรเทาผลร้าย ที่เราได้ก่อให้เกิดขึ้น
จนฝ่ายนั้น เค้าไม่ติดใจเอาความกับเรา ก็เพียงพอครับ
ปอลิง ไม่เอาคดี หมูแฮม แพรวา ลูกกระทิงแดง มาเทียบนะครับ อันนั้น ... อิอิ
ระวางโทษ จำคุก ไม่เกิน 10 ปี โทษปรับจำไม่ได้(แฮ่ะๆ)
หมายความว่า ศาลจะลงโทษ จำคุก เท่าไหร่ ก็ได้ แต่ไม่เกิน 10 ปี
ทั้งนี้ ดูจากข้อเท็จจริง และพฤิตการณ์แห่งการกระทำ รวมทั้งการบรรเทาผลร้ายของผู้ต้องหา
ว่าได้บรรเทาผลร้ายนั้น ให้แก่ผู้เสียหายหรือไม่
จากเคสนี้ ต้องไปดูในคดีอาญา ให้ตำรวจ ชี้ว่า ใครผิด ใครถูก มากกว่ากัน
ให้ ตร. ชี้ ถึงพฤติการณืของคนตายด้วย แต่โดยท้ายที่สุด ฝ่านนั้นตาย คดีอาญา ก็เป็นอันยุติ(สำหรับเขา)
แต่เราสมรถเอาพฤติการณ์ของฝ่านนั้น มานำสืบประกอบได้อยู่(เมา ไม่สวมหมวก ขับเร้ว ขับผิดช่องทาง ย้อนศร ไม่มีใบขับชี่ เป็นต้น) ไม่ใช่ว่าจะเขียนเล่นแต่เราอย่างเดียว
จากนั้น ไปว่า กันที่ ชั้นศาล นำสืบพฤติการณ์ คู่กรณี
นำสืบ การบรรเทาผลร้าย เราได้ช่วย(ตามมนุษยธรรม) แก่ฝ่ายนั้น ยังไง หรือไม่ จบไหม เค้ายังติดใจอยู่ไหม
ถ้าศาลเห็นว่า ฝ่ายนั้นก็ประมาทไม่ยิ่งหย่อนกว่าเราเท่าไหร่
เราบรรเทาผลร้าย ให้ยุติกันไปแล้ว
ศาลท่านก็จะ ลงโทษ ในระดับที่ไม่หนักมาก(ศาลจะมีหลักเทียบของเค้าอยู่)
ส่วนใหญ่จะลงโทษจำคุก ไม่เกิน 2 ปี(ดูพฤติการณ์เป็นหลัก)
แล้วพอโทษ ไม่ถึง 2 ปี มันเข้าเหตุเบาเทาโทษ เหตุลดโทษ
ศาลอาจจะลดโทษ ลง หรือ ให้รอการลงโทษไว้ก่อนก็ได้(ตามกม. จำคุกไม่เกิน 2-3 ปี ศาลรอการลงโทษได้)
โดยอาจจะให้งดเว้นใบขับขี่เรา 6 เดือน-1 ปี บำเพ็ญประโยชน์ แล้วตรวจสอบพฤติกรรมเรา ว่าเรายังมีพฤติกรรมแบบเดิมอยู่หรือไม่ สัก 3-5 ปี(รายงานตัวทุก 6 เดือน)
ดังนั้น โทษ ในคดี ประมาท ถึงแก่ความตาย ไม่ได้เลวร้ายมากครับ
ศาลท่านไม่ค่อยจะเอาคนที่ทำผิดในลักษณะนี้เข้าคุกสักเท่าไหร่ เก็บคุกไว้ให้คดีหนักๆกว่านี้ดีกว่า
โดย เน้น การเยียวยาความเสียหาย การบรรเทาผลร้าย ที่เราได้ก่อให้เกิดขึ้น
จนฝ่ายนั้น เค้าไม่ติดใจเอาความกับเรา ก็เพียงพอครับ
ปอลิง ไม่เอาคดี หมูแฮม แพรวา ลูกกระทิงแดง มาเทียบนะครับ อันนั้น ... อิอิ
แสดงความคิดเห็น
ต้องการความช่วยเหลือ น้องสาวเพื่อนจอดรถไว้ริมถนน ถูกมอเตอร์ไซค์เฉี่ยวคนขับมอเตอร์ไซค์เสียชีวิต ตำรวจจะส่งฟ้องอาญา
วันนี้ (2 ก.ค.) ทางตำรวจแจ้งว่าเนื่องจากเป็นคดีอาญา ยอมความไม่ได้ แม้ญาติผู้ตายจะไม่เอาความ แต่ตำรวจจะส่งสำนวนฟ้องศาลในความผิดฐานจอดรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นเสียชีวิต
ฝากถามท่านผู้รู้ในข้อกฎหมายชี้แนะด้วยค่ะว่าจะทำอย่างไรดี น้องสาวเพื่อนบอกว่าโชคร้ายจริงที่ตอนนั้นเหลือรถน้องจอดอยู่คันเดียว และคนขับมอเตอร์ไซค์น่าจะไม่เห็นเพราะค่อนข้างมืด