พฤติกรรมการเรียนรู้แบบฝังใจ ( Imprinting) เป็นพฤติกรรมที่ตอบสนองสิ่งเร้าในช่วงแรกของชีวิตด้วยการจดจำสิ่งเร้าต่างๆได้ ตัวอย่างที่น่าจะได้ยินกันบ่อยๆก็ ลูกเป็ดที่ซึ่งฟักตัวออกจากไข่สิ่งแรกที่ลูกเป็ดเห็นมันจะนึกว่าเป็นแม่ของมัน
อินเด็กซ์ - โทมะ(อาจจะ)เป็นคนแรกที่ทำดีด้วย(ยอมช่วยถึงขนาดเอาชีวิตไปเสี่ยง) หลังจากที่เธอถูกลบความทรงจำ
โทมะ - อินเด็กซ์เป็นคนที่ตัวเองเคยช่วยเอาไว้ก่อนที่จะเสียความทรงจำ
ทั้งคู่ต่างจากลูกเป็ดที่พึ่งฟัก ตรงที่ถึงจะไม่มีความทรงจำแต่ทั้งคู่ก็ยังมีความรู้
กรณีของ โทมะ คนแรกที่เจอ น่าจะเป็น หมอ/พยาบาล แต่เพราะยังเหลือความรู้อยู่ จึงแยกแยะได้ว่า พวกเขามีหน้าที่อะไร เกี่ยวกับตัวเองอย่างไร แต่กับอินเด็กซ์ ที่รู้แค่ว่าเป็นคนที่ตัวเองเคยช่วยเอาไว้ก่อนที่จะเสียความทรงจำ(แถมอยู่ๆก็มาร้องไห้ต่อหน้าอีก) เพราะงั้นในหัวของโทมะจึงมีเรื่องของอินเด็กซ์บันทึกไว้เป็นคนแรกในฐานะคนรู้จัก ยกตัวอย่างเช่น ในนิยายเล่ม 2 โทมะจะลองว่าโทรศัพท์ใช้ได้ไหม คนที่หมอนี้นึกออกก็เลยมีแต่อินเด็กซ์ (อาจจะไม่ได้ขอเบอร์โทรของอาจารย์ไว้)
{Index}ความสัมพันธ์ระหว่าง อินเด็กซ์ กับ โทมะ เข้าข่ายการเรียนรู้แบบฝังใจหรือไม่(To Aru Majutsu no Index)
อินเด็กซ์ - โทมะ(อาจจะ)เป็นคนแรกที่ทำดีด้วย(ยอมช่วยถึงขนาดเอาชีวิตไปเสี่ยง) หลังจากที่เธอถูกลบความทรงจำ
โทมะ - อินเด็กซ์เป็นคนที่ตัวเองเคยช่วยเอาไว้ก่อนที่จะเสียความทรงจำ
ทั้งคู่ต่างจากลูกเป็ดที่พึ่งฟัก ตรงที่ถึงจะไม่มีความทรงจำแต่ทั้งคู่ก็ยังมีความรู้
กรณีของ โทมะ คนแรกที่เจอ น่าจะเป็น หมอ/พยาบาล แต่เพราะยังเหลือความรู้อยู่ จึงแยกแยะได้ว่า พวกเขามีหน้าที่อะไร เกี่ยวกับตัวเองอย่างไร แต่กับอินเด็กซ์ ที่รู้แค่ว่าเป็นคนที่ตัวเองเคยช่วยเอาไว้ก่อนที่จะเสียความทรงจำ(แถมอยู่ๆก็มาร้องไห้ต่อหน้าอีก) เพราะงั้นในหัวของโทมะจึงมีเรื่องของอินเด็กซ์บันทึกไว้เป็นคนแรกในฐานะคนรู้จัก ยกตัวอย่างเช่น ในนิยายเล่ม 2 โทมะจะลองว่าโทรศัพท์ใช้ได้ไหม คนที่หมอนี้นึกออกก็เลยมีแต่อินเด็กซ์ (อาจจะไม่ได้ขอเบอร์โทรของอาจารย์ไว้)