ภาพส่วนมากเกี่ยวพันกับโศกนาฎกรรมที่มีกับชาวบ้าน
ด้วยการใช้อาวุธ การใช้ความรุนแรง การก่อการร้าย
มีเพียงบางภาพที่เป็นภัยพิบัติจากธรรมชาติ
ทุภภาพเป็นภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นรอบโลกตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
คำถามหลายคำถามไร้คำตอบ คำตอบหลายคำตอบไร้คนถาม
1. La Jeunne Fille a La Fleur by Marc Ribound (สาวน้อยกับดอกไม้)
Jane Rose Kasmir สาวน้อยนักต่อสู้แบบสันติวิธี ได้วางดอกไม้บนดาบปลายปืนของทหารสหรัฐ
ที่หน้ากระทรวงกลาโหม Pantagon ในช่วงประท้วงสงครามเวียตนามของชาวอเมริกัน 21 ตุลาคม 1967(2510)
ภาพนี้กลายเป็นสัญลักษณ์ การใช้ดอกไม้ในการเคลื่อนไหวอย่างสันติวิธี
2. Reunited by Carol Guzy (รวมญาติ)
Agim Shala เด็กชายวัย 2 ขวบ ถูกส่งมอบคืนให้ครอบครัว Shala ด้วยการมุดรั้วรวดหนาม
ในค่ายผู้ลี้ภัยจากสงครามล้างเผ่าพันธุ์ Kosovo
หลังจากญาติพี่น้องที่พึ่งหลบหนีมาจาก Prizren ได้พบกับครอบครัวของเด็กชาย
แต่พวกเขายังต้องทนรอคอยอยู่อีกฟากหนึ่งของค่ายผู้ลี้ภัย
เพราะยังไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าออกได้
3. Kent State Massacre by John Filo (รัฐฆาต)
Mary Ann Vecchio สาวน้อยวัย 14 ปี หลังจากวิ่งหลบหนีการปราบปรามของรัฐ
คุกเข่าลงหน้าศพ Jeffrey Miller ที่เพี่งจะถูกยิงเสียชีวิตเพียงไม่กี่นาทีก่อนหน้านี้
จากกองกำลังรักษาความมั่นคงภายในรัฐ Ohio National Guard
4. Hans Conrad Schumann jumping into West Berlin by Peter Leibing (โดดลี้ภัย)
ทหารเยอรมันแดง(ตะวันออก) มีชื่อเสียงมากจากการลี้ภัยเข้ามาเยอรมันนีตะวันตก
ระหว่างการก่อสร้างกำแพงเบอร์ลินในปี 1961(2504) ในวันที่ 15 สิงหาคม 1961(2504)
เขาถูกส่งมาเฝ้าที่จุดเฝ้าระวัง Ruppiner Straße กับ Bernauer Straße
ขณะนั้นเป็นวันที่สามแล้วระหว่างการก่อสร้างกำแพงกั้นเขตแดนจากอีกชาติหนึ่ง
เขตแดนบางส่วนยังใช้รั้วลวดหนามที่ไม่สูงมากนัก
ขณะที่ฝั่งตรงข้ามมีประชาชนกำลังร่วมกันส่งเสียงตะโกนว่า Komm rüber โดดมาเลย ๆ
ใกล้ ๆ กันนั้นตรงฝั่งเยอรมันนีตะวันตก มีรถยนต์ตำรวจจอดรอติดเครื่องยนต์อยู่
ไม่นานนักเขาก็ตัดสินใจกระโดดข้ามรั้วลวดหนามวิ่งมายังฝั่งตรงข้าม
แล้ววิ่งขึ้นนั่งในรถยนต์ตำรวจที่ขับหนีหายไปจากฝูงชน
5. Reflections on the Rwandan Geonocide by James Nachtway (รอยแผลเป็นหลังการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์)
ภาพนี้ได้บอกเล่าถึงเรื่องราวการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในราวันด้า
ชายหนุ่มคนเผ่าฮูตู Hutu เป็นหนึ่งในผู้อยู่ในค่ายกักกัน
ที่ได้รับการทำร้ายร่างกายอย่างทารุณ แต่เขารอดตายมาได้
หลังจากค่ายกักกันแห่งนั้นได้รับการปลดปล่อย
6. Segregated Water Fountains by Elliot Erwitt (สุขภัณฑ์แบ่งชนชั้น)
ภาพแสดงความไม่เท่าเทียมกันด้วยการแบ่งแยกชนชั้น คนผิวขาว กับ คนผิวดำ
ในปี 1960(2503) ที่ North Carolina ในยุคสมัยแห่งความเกลียดชังและแบ่งแยกชนชั้นในสหรัฐอเมริกา
7. Turture and Prisoner abuse in Abu Ghraib (ทรมานและเหยียดหยาม)
Lynndie England กำลังใช้เชือกจูงหมา ผูกคอนักโทษที่นอนอยู่บนพื้นห้องขัง
นักโทษที่ผู้คุมเรียกว่า Gus การกระทำของเธอครั้งนี้ ทำให้เธอเป็นหนึ่งใน 11 คน
ที่ถูกศาลทหารตัดสินว่า มีความผิดจริงในข้อหาทารุณกรรมนักโทษ ในปี 2005(2548)
8. Tank Man By Stuart Franklin (ยืนหยัดต้านรถถัง)
ชายนิรนาม กำลังยืนหยัดต้านรถถังกองทัพประชาชนจีนในวันที่ 5 มุถุนายน 1989(2532)
ขณะที่เคลื่อนขบวนมาช่วงเช้ารวม 59 คัน เพื่อล้อมปราบการประท้วงของประชาชนที่บริเวณจัตุรัสเทียนอันเหมิน
ทำให้ภาพนี้มีการเผยแพร่ทางภาพถ่ายและวิดีโอไปทางสื่อมวลชนทั่วโลก
ชายเงียบ Silent Man หรือ ชายยืนนิ่ง Standing Man
ชายชาวตุรกีชื่อ Erdem Gunduz
ยืนประท้วงรัฐบาลตุรกีเป็นเวลานานกว่าแปดชั่วโมง
ที่จัตุรัสทักซิม Taksim ฝั่งตรงข้ามเป็นภาพวาดขนาดใหญ่ของ
มุสตาฟา เคมัล อาตาเตอร์ก Mustafa Kemal Ataturk พ่อชาวตุรกี
แม้ว่าก่อนหน้านั้นจะมีการตรวจค้นร่างกายและข้าวของชายเงียบโดยตำรวจลับ
เพื่อค้นตัวว่าพกพาอาวุธหรือสิ่งผิดกฎหมายหรือไม่ แต่ก็ไม่พบอะไร
ตำรวจจะตั้งข้อหาก่อความวุ่นวายก็ไม่ได้
เพราะเขายืนอย่างสงบไม่ขัดขืนหรือขัดขวางการตรวจคัน
ทำให้เป็นแบบอย่างการประท้วงที่แพร่หลายไปทั่วประเทศตุรกี
หรือเรียกกันอีกอย่างหนึ่งได้ว่า อารยะขัดขืน
ที่มาของภาพ
http://theweek.com/article/index/245809/turkeys-standing-man-can-a-lone-protester-change-history
9. Uganda Famine by Mike Wells (ข้าวยากหมากแพง)
ภาพนี้ถ่ายขึ้นช่วงเมษายน 1980(2523) เป็นภาพถ่ายมือของเด็กชายชาวอูกันดา
ที่ขาดอาหารและสารอาหารขั้นรุนแรง กำลังวางมือบนมือของมิชชั่นนารี่รายหนึ่ง
ที่แคว้น Karamoja ช่างภาพเคยส่งภาพนี้ไปเผยแพร่ แต่ได้รับการปฏิเสธมาก่อน
10. Earthquake in Sichuan By Mads Nissen (แผ่นดินพิโรธ)
ภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวขนาด 8.0 ริกเตอร์ ในวันที่ 12 พฤษภาคม 2008(2551)
ทำให้ชาวบ้านประมาณ 88,000 คนต้องเสียชีวิตหรือหายสาบสูญ
ชายในภาพนี้กำลังร่ำไห้หลังจากเปิดดูภาพถ่ายครอบครัวที่สะสมไว้
11. Wait for Me, Daddy by Claude P. Dettloff (พ่อรอด้วย)
ในวันที่ 1 ตุลาคม 1940(2483) เหล่าทหารจากกรมทหาร British Columbia Regiment
(Duke of Connaught ' s Own Rifles) กำลังเดินแถวบนถนนสายที่ 8 Eighth Street
ใกลักับสี่แยกถนนสายหลัก Columbia Avenue ที่ New Westminster แคนาดา
เด็กชาย Warren Whitey Bernard สะบัดมือแม่ที่จูงมือไว้ แล้ววิ่งไปหาพ่อ(พลทหาร Jack Bernard)
ภาพนี้ได้รับการเผยแพร่อย่างแพร่หลาย และเป็นภาพหนึ่งที่ใช้รณรงค์ให้ประชาชน
ช่วยกันซื้อพันธบัตรรัฐบาลในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง
12. 9/11 The Falling man by Richard Drew (คนโดดตึก)
ในวันที่ 11 กันยายน 2001(2544) ช่างภาพ AP
ที่อยู่ใกล้ตึกแฝด World Trade Center ที่กำลังลุกไหม้
ได้เก็บภาพถ่ายนี้ซึ่งเป็นประจักษ์พยานทางภาพถ่ายได้
เป็นภาพความทรงจำที่น่าเศร้าสลดใจ
เรียบเรียงจาก
http://www.eyespopping.com/12-most-shocking-heart-touching-photographs-ever-taken/
http://dict.longdo.com/
http://google.com
ขอมอบเพลง
ไม่เร็วก็ช้า เราจะฝ่าข้ามไป
เรื่องราวและที่มาของภาพถ่ายหญิงสาวชาวอัฟกันที่โด่งดัง
อยู่ในความเห็นที่ 2 ในเรื่องเดิมของผู้เขียน
Kodak ภาพฟิล์มสีม้วนสุดท้าย
http://ppantip.com/topic/30060618
คำถามของภาพ คำตอบของภาพ
ด้วยการใช้อาวุธ การใช้ความรุนแรง การก่อการร้าย
มีเพียงบางภาพที่เป็นภัยพิบัติจากธรรมชาติ
ทุภภาพเป็นภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นรอบโลกตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
คำถามหลายคำถามไร้คำตอบ คำตอบหลายคำตอบไร้คนถาม
1. La Jeunne Fille a La Fleur by Marc Ribound (สาวน้อยกับดอกไม้)
Jane Rose Kasmir สาวน้อยนักต่อสู้แบบสันติวิธี ได้วางดอกไม้บนดาบปลายปืนของทหารสหรัฐ
ที่หน้ากระทรวงกลาโหม Pantagon ในช่วงประท้วงสงครามเวียตนามของชาวอเมริกัน 21 ตุลาคม 1967(2510)
ภาพนี้กลายเป็นสัญลักษณ์ การใช้ดอกไม้ในการเคลื่อนไหวอย่างสันติวิธี
2. Reunited by Carol Guzy (รวมญาติ)
Agim Shala เด็กชายวัย 2 ขวบ ถูกส่งมอบคืนให้ครอบครัว Shala ด้วยการมุดรั้วรวดหนาม
ในค่ายผู้ลี้ภัยจากสงครามล้างเผ่าพันธุ์ Kosovo
หลังจากญาติพี่น้องที่พึ่งหลบหนีมาจาก Prizren ได้พบกับครอบครัวของเด็กชาย
แต่พวกเขายังต้องทนรอคอยอยู่อีกฟากหนึ่งของค่ายผู้ลี้ภัย
เพราะยังไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าออกได้
3. Kent State Massacre by John Filo (รัฐฆาต)
Mary Ann Vecchio สาวน้อยวัย 14 ปี หลังจากวิ่งหลบหนีการปราบปรามของรัฐ
คุกเข่าลงหน้าศพ Jeffrey Miller ที่เพี่งจะถูกยิงเสียชีวิตเพียงไม่กี่นาทีก่อนหน้านี้
จากกองกำลังรักษาความมั่นคงภายในรัฐ Ohio National Guard
4. Hans Conrad Schumann jumping into West Berlin by Peter Leibing (โดดลี้ภัย)
ทหารเยอรมันแดง(ตะวันออก) มีชื่อเสียงมากจากการลี้ภัยเข้ามาเยอรมันนีตะวันตก
ระหว่างการก่อสร้างกำแพงเบอร์ลินในปี 1961(2504) ในวันที่ 15 สิงหาคม 1961(2504)
เขาถูกส่งมาเฝ้าที่จุดเฝ้าระวัง Ruppiner Straße กับ Bernauer Straße
ขณะนั้นเป็นวันที่สามแล้วระหว่างการก่อสร้างกำแพงกั้นเขตแดนจากอีกชาติหนึ่ง
เขตแดนบางส่วนยังใช้รั้วลวดหนามที่ไม่สูงมากนัก
ขณะที่ฝั่งตรงข้ามมีประชาชนกำลังร่วมกันส่งเสียงตะโกนว่า Komm rüber โดดมาเลย ๆ
ใกล้ ๆ กันนั้นตรงฝั่งเยอรมันนีตะวันตก มีรถยนต์ตำรวจจอดรอติดเครื่องยนต์อยู่
ไม่นานนักเขาก็ตัดสินใจกระโดดข้ามรั้วลวดหนามวิ่งมายังฝั่งตรงข้าม
แล้ววิ่งขึ้นนั่งในรถยนต์ตำรวจที่ขับหนีหายไปจากฝูงชน
5. Reflections on the Rwandan Geonocide by James Nachtway (รอยแผลเป็นหลังการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์)
ภาพนี้ได้บอกเล่าถึงเรื่องราวการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในราวันด้า
ชายหนุ่มคนเผ่าฮูตู Hutu เป็นหนึ่งในผู้อยู่ในค่ายกักกัน
ที่ได้รับการทำร้ายร่างกายอย่างทารุณ แต่เขารอดตายมาได้
หลังจากค่ายกักกันแห่งนั้นได้รับการปลดปล่อย
6. Segregated Water Fountains by Elliot Erwitt (สุขภัณฑ์แบ่งชนชั้น)
ภาพแสดงความไม่เท่าเทียมกันด้วยการแบ่งแยกชนชั้น คนผิวขาว กับ คนผิวดำ
ในปี 1960(2503) ที่ North Carolina ในยุคสมัยแห่งความเกลียดชังและแบ่งแยกชนชั้นในสหรัฐอเมริกา
7. Turture and Prisoner abuse in Abu Ghraib (ทรมานและเหยียดหยาม)
Lynndie England กำลังใช้เชือกจูงหมา ผูกคอนักโทษที่นอนอยู่บนพื้นห้องขัง
นักโทษที่ผู้คุมเรียกว่า Gus การกระทำของเธอครั้งนี้ ทำให้เธอเป็นหนึ่งใน 11 คน
ที่ถูกศาลทหารตัดสินว่า มีความผิดจริงในข้อหาทารุณกรรมนักโทษ ในปี 2005(2548)
หมายเหตุ ภาพนี้ล้อเลียนการทารุณกรรมของอีกฝ่ายหนึ่ง
ที่มาเรื่องเดิมของผู้เขียน ภาพประกอบการ์ตูนเสียดสี http://ppantip.com/topic/30589450
8. Tank Man By Stuart Franklin (ยืนหยัดต้านรถถัง)
ชายนิรนาม กำลังยืนหยัดต้านรถถังกองทัพประชาชนจีนในวันที่ 5 มุถุนายน 1989(2532)
ขณะที่เคลื่อนขบวนมาช่วงเช้ารวม 59 คัน เพื่อล้อมปราบการประท้วงของประชาชนที่บริเวณจัตุรัสเทียนอันเหมิน
ทำให้ภาพนี้มีการเผยแพร่ทางภาพถ่ายและวิดีโอไปทางสื่อมวลชนทั่วโลก
ชายเงียบ Silent Man หรือ ชายยืนนิ่ง Standing Man
ชายชาวตุรกีชื่อ Erdem Gunduz
ยืนประท้วงรัฐบาลตุรกีเป็นเวลานานกว่าแปดชั่วโมง
ที่จัตุรัสทักซิม Taksim ฝั่งตรงข้ามเป็นภาพวาดขนาดใหญ่ของ
มุสตาฟา เคมัล อาตาเตอร์ก Mustafa Kemal Ataturk พ่อชาวตุรกี
แม้ว่าก่อนหน้านั้นจะมีการตรวจค้นร่างกายและข้าวของชายเงียบโดยตำรวจลับ
เพื่อค้นตัวว่าพกพาอาวุธหรือสิ่งผิดกฎหมายหรือไม่ แต่ก็ไม่พบอะไร
ตำรวจจะตั้งข้อหาก่อความวุ่นวายก็ไม่ได้
เพราะเขายืนอย่างสงบไม่ขัดขืนหรือขัดขวางการตรวจคัน
ทำให้เป็นแบบอย่างการประท้วงที่แพร่หลายไปทั่วประเทศตุรกี
หรือเรียกกันอีกอย่างหนึ่งได้ว่า อารยะขัดขืน
ที่มาของภาพ http://theweek.com/article/index/245809/turkeys-standing-man-can-a-lone-protester-change-history
9. Uganda Famine by Mike Wells (ข้าวยากหมากแพง)
ภาพนี้ถ่ายขึ้นช่วงเมษายน 1980(2523) เป็นภาพถ่ายมือของเด็กชายชาวอูกันดา
ที่ขาดอาหารและสารอาหารขั้นรุนแรง กำลังวางมือบนมือของมิชชั่นนารี่รายหนึ่ง
ที่แคว้น Karamoja ช่างภาพเคยส่งภาพนี้ไปเผยแพร่ แต่ได้รับการปฏิเสธมาก่อน
10. Earthquake in Sichuan By Mads Nissen (แผ่นดินพิโรธ)
ภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวขนาด 8.0 ริกเตอร์ ในวันที่ 12 พฤษภาคม 2008(2551)
ทำให้ชาวบ้านประมาณ 88,000 คนต้องเสียชีวิตหรือหายสาบสูญ
ชายในภาพนี้กำลังร่ำไห้หลังจากเปิดดูภาพถ่ายครอบครัวที่สะสมไว้
11. Wait for Me, Daddy by Claude P. Dettloff (พ่อรอด้วย)
ในวันที่ 1 ตุลาคม 1940(2483) เหล่าทหารจากกรมทหาร British Columbia Regiment
(Duke of Connaught ' s Own Rifles) กำลังเดินแถวบนถนนสายที่ 8 Eighth Street
ใกลักับสี่แยกถนนสายหลัก Columbia Avenue ที่ New Westminster แคนาดา
เด็กชาย Warren Whitey Bernard สะบัดมือแม่ที่จูงมือไว้ แล้ววิ่งไปหาพ่อ(พลทหาร Jack Bernard)
ภาพนี้ได้รับการเผยแพร่อย่างแพร่หลาย และเป็นภาพหนึ่งที่ใช้รณรงค์ให้ประชาชน
ช่วยกันซื้อพันธบัตรรัฐบาลในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง
12. 9/11 The Falling man by Richard Drew (คนโดดตึก)
ในวันที่ 11 กันยายน 2001(2544) ช่างภาพ AP
ที่อยู่ใกล้ตึกแฝด World Trade Center ที่กำลังลุกไหม้
ได้เก็บภาพถ่ายนี้ซึ่งเป็นประจักษ์พยานทางภาพถ่ายได้
เป็นภาพความทรงจำที่น่าเศร้าสลดใจ
เรียบเรียงจาก
http://www.eyespopping.com/12-most-shocking-heart-touching-photographs-ever-taken/
http://dict.longdo.com/
http://google.com
ขอมอบเพลง ไม่เร็วก็ช้า เราจะฝ่าข้ามไป
เรื่องราวและที่มาของภาพถ่ายหญิงสาวชาวอัฟกันที่โด่งดัง
อยู่ในความเห็นที่ 2 ในเรื่องเดิมของผู้เขียน
Kodak ภาพฟิล์มสีม้วนสุดท้าย http://ppantip.com/topic/30060618