คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 17
สงสัยเหมือนกัน ทำไมรถไฟฟ้าใต้ดินชอบปิดบันไดเลื่อนแล้วอ้างว่าช่วยชาติประหยัดพลังงาน ทั้งที่ราคาค่าโดยสารก็ไม่ได้ลดลงแต่อย่างใด บันไดบางสถานีก็ลึกเกิน คนขาไม่ดี เดินลงกว่าจะถึง (เราโชคดีที่ไม่ค่อยได้ใช้รถใต้ดินอะ)
เรื่องออกกำลังกาย กับเรื่องผู้ให้บริการคนละเรื่องกัน คนที่เขาอยากออกกำลังกายเขาออกโดยวิธีอื่นได้ การเปิดบันไดเลื่อนให้เป็นแบบอัตโนมัติจะดีกว่า
จำได้ว่า รถใต้ดินเคยแจ้งว่าเปิดแบบอัตโนมัติเปลืองกว่าเปิดทิ้งไว้หรือไม่ก็ปิดไปเลย จริงเหรอ? ก็ถ้าไม่ได้ประหยัดจริงทำไม บีทีเอส เลือกใช้วิธีนี้ ทำไมสนาบินก็เลือกใช้วิธีนี้?
เรื่องออกกำลังกาย กับเรื่องผู้ให้บริการคนละเรื่องกัน คนที่เขาอยากออกกำลังกายเขาออกโดยวิธีอื่นได้ การเปิดบันไดเลื่อนให้เป็นแบบอัตโนมัติจะดีกว่า
จำได้ว่า รถใต้ดินเคยแจ้งว่าเปิดแบบอัตโนมัติเปลืองกว่าเปิดทิ้งไว้หรือไม่ก็ปิดไปเลย จริงเหรอ? ก็ถ้าไม่ได้ประหยัดจริงทำไม บีทีเอส เลือกใช้วิธีนี้ ทำไมสนาบินก็เลือกใช้วิธีนี้?
สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 5
ผมไม่ได้เข้าข้างใคร หากคุณเป็นคนมีปัญหาเรื่องหัวเขาและขา อย่างแม่ผมคุณจะรู้ว่า
บันไดเลื่อนลงรถไฟฟ้าใต้ดินมันสำคัญแค่ไหน
อยากให้เปิด บันได้เลื่อนตรงทางเข้ามากที่สุดเพราะระยะทางค่อนข้างยาว
ส่วนต่อที่ 2 ลงไปตรงที่ซื้อตั๋ว ไม่กี่ขั้น ก็พอไหว นี่เล่นปิด ทุกอันเลยไม่ไหวนะครับ
ส่วนตัว อยากให้ทุกคน ออกกำลังกายบ้างก็ดีครับ
ปล. ทำไมไม่ทำเป็นแบบ บันไดอัตโนมัติละครับ
บันไดเลื่อนลงรถไฟฟ้าใต้ดินมันสำคัญแค่ไหน
อยากให้เปิด บันได้เลื่อนตรงทางเข้ามากที่สุดเพราะระยะทางค่อนข้างยาว
ส่วนต่อที่ 2 ลงไปตรงที่ซื้อตั๋ว ไม่กี่ขั้น ก็พอไหว นี่เล่นปิด ทุกอันเลยไม่ไหวนะครับ
ส่วนตัว อยากให้ทุกคน ออกกำลังกายบ้างก็ดีครับ
ปล. ทำไมไม่ทำเป็นแบบ บันไดอัตโนมัติละครับ
ความคิดเห็นที่ 61
จะรอสรุปโครงการประหยัดพลังงานนี้ อาจจะรอไปซักพักกว่าโครงการจะเสร็จ แต่คิดว่าน่าจะมีเอกสารชี้แจงการประหยัดพลังงาน เผยแพร่ตามมา เพราะเป็น บมจ. อยู่แล้ว เท่าที่ดูหลายคนก็มีความเห็นเรื่องการใช้ระบบการเปิด ปิด อัตโนมัติ ซึ่งอาจจะเป็นทางออกที่ดีสำหรับ ผดส. และ MRT นะครับ ^ ^
รฟม.-รถไฟฟ้าใต้ดิน รณรงค์ประหยัดพลังงาน นำร่องงดใช้บันไดเลื่อนขาลง 3 เดือน
วันที่ 19 มี.ค. นางสาวรัชนี ตรีพิพัฒน์ล ประธานคณะกรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย หรือ รฟม. เปิดเผยว่า เพื่อเป็นการปฎิบัติตามนโยบายรัฐบาลที่รณรงค์ให้ลดการใช้พลังงาน รฟม. และบริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ บีเอ็มซีแอล ผู้ให้บริการเดินรถไฟฟ้าใต้ดิน ได้ร่วมมือกันดำเนินโครงการร่วมใจอนุรักษ์พลังงานเพื่อสังคม โดยจะปิดการใช้งานบันไดเลื่อนขาลงทั้งหมด 70 - 80 ตัว จากทั้งหมดที่ใช้บริการ 200 ตัว ในช่วงเวลา 09.30 - 16.30 น. เริ่มทดลองเป็นเวลา 3 เดือน ระหว่างวันที่ 1 เมษายน ถึง 30 มิถุนายนนี้ ทั้งนี้เชื่อว่าโครงการดังกล่าวจะสามารถช่วยลดภาระค่าจ่ายได้ เนื่องจากที่ผ่านมา บีเอ็มซีแอล ต้องแบกรับภาระค่าไฟทั้งระบบในการให้บริการ 1 ล้านบาทต่อวัน
Credit: http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1363739355&grpid=03&catid=03
บันไดเลื่อนที่มีความสูงมาก จะต้องออกแบบให้เป็นลักษณะโมดูลาร์ กล่าวคือ มีมอเตอรร์ขับเคลื่อนติด ตั้งอยู่เป็นชวงๆตลอดความยาวของบันไดเลื่อน
เช่น ถ้าความสูงไมเกิน 6 เมตรใช้มอเตอร์ชุดเดียว ถ้าสูงระหว่าง 6-12 เมตร ใช้มอเตอร์ 2 ชุด และมีมอเตอร์เพิ่ม 1 ชุดทุกๆความสูง 6 เมตร
ขนาดมอเตอร์ปกติของบันไดเลื่อน (Typical Escalator Motor Size)
ตัวอย่างการคำนวณพลังงานไฟฟ้าของบันไดเลื่อน
พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในระบบบันไดเลื่อน จะขึ้นกับระยะทาง, ความกว้างของบันได และชั่วโมงการใช้งานของบันไดเลื่อนเป็นหลัก
อย่างไรก็ตาม บันไดเลื่อนรุ่นใหม่ในปัจจุบัน มีความสามารถในการตรวจจับน้ําหนักการขนส่งเพื่อปรับให้เข้าสู่โหมดประหยัดพลังงาน
ซึ่งอาจก่อให้เกิดศักยภาพในการอนุรักษ์พลังงาน มากกว่า30% ได้อีกด้วย
ในบางอาคารซึ่งไม่ได้มีคนใช้งานบันไดเลื่อนตลอดเวลาอาจติดตั้งอุปกรณ ตรวจจับคน เพื่อใช้สําหรับ
สั่งให้บันไดเลื่อนทำงานเมื่อมีคนมาใช้งาน และหยุดทำงานเมื่อไม่มีคนมาใช้งานในช่วงเวลาหนึ่ง
อุปกรณ์ตรวจจับคน ส่วนใหญ่จะเป็นแบบสวิทช์ลําแสง ติดตั้งอยู่บริเวณก่อนถึงบนไดเลื่อนก่อนประมาณ 1-2 ก้าว
หรืออาจเป็นสวิทช์ที่แผ่นพื้นกอนถึงบันไดเลื่อน
สําหรับการติดตั้งระบบตรวจจับคนอัตโนมัติเพิ่มเติมในบันไดเลื่อนที่มีอยู่แล้ว จะมีค่าใช้จ่ายโดยประมาณ 150,000 - 250,000 บาท ต่อบันไดเลื่อน 1 ชุด
จากตารางการคำนวณด้านบน สรุปได้ว่าระยะเวลาคืนทุนของการติดตั้งระบบควบคุมอัตโนมัติ
สําหรับเปิด-ปิดการใช้งานบันไดเลื่อนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานอยู่ในช่วง 2-4 ปี
ซึ่งขึ้นอยู่กับความถี่ในการใช้งานของบันไดเลื่อนตามจํานวนคนที่มาใช้บริการ(ตั้งแต่ 3 ครั้งต่อชั่วโมง ถึง ตลอดเวลา)
Credit: วิธีการคำนวณจากเอกสารเผยแพร่ของกระทรวงพลังงานครับ
โดยส่วนตัวแล้วคิดว่า น่าจะคืนทุนได้ใน 1 - 2 ปี เพราะปัจจุบันปริมาณผู้โดยสารเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้งคอนโดในแนว MRT ก็เริ่มเสร็จพร้อมเข้าอยู่ไปพอสมควร + สภาพการจราจรติดขัดขึ้นเรื่อยๆ ครับ
รฟม.-รถไฟฟ้าใต้ดิน รณรงค์ประหยัดพลังงาน นำร่องงดใช้บันไดเลื่อนขาลง 3 เดือน
วันที่ 19 มี.ค. นางสาวรัชนี ตรีพิพัฒน์ล ประธานคณะกรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย หรือ รฟม. เปิดเผยว่า เพื่อเป็นการปฎิบัติตามนโยบายรัฐบาลที่รณรงค์ให้ลดการใช้พลังงาน รฟม. และบริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ บีเอ็มซีแอล ผู้ให้บริการเดินรถไฟฟ้าใต้ดิน ได้ร่วมมือกันดำเนินโครงการร่วมใจอนุรักษ์พลังงานเพื่อสังคม โดยจะปิดการใช้งานบันไดเลื่อนขาลงทั้งหมด 70 - 80 ตัว จากทั้งหมดที่ใช้บริการ 200 ตัว ในช่วงเวลา 09.30 - 16.30 น. เริ่มทดลองเป็นเวลา 3 เดือน ระหว่างวันที่ 1 เมษายน ถึง 30 มิถุนายนนี้ ทั้งนี้เชื่อว่าโครงการดังกล่าวจะสามารถช่วยลดภาระค่าจ่ายได้ เนื่องจากที่ผ่านมา บีเอ็มซีแอล ต้องแบกรับภาระค่าไฟทั้งระบบในการให้บริการ 1 ล้านบาทต่อวัน
Credit: http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1363739355&grpid=03&catid=03
บันไดเลื่อนที่มีความสูงมาก จะต้องออกแบบให้เป็นลักษณะโมดูลาร์ กล่าวคือ มีมอเตอรร์ขับเคลื่อนติด ตั้งอยู่เป็นชวงๆตลอดความยาวของบันไดเลื่อน
เช่น ถ้าความสูงไมเกิน 6 เมตรใช้มอเตอร์ชุดเดียว ถ้าสูงระหว่าง 6-12 เมตร ใช้มอเตอร์ 2 ชุด และมีมอเตอร์เพิ่ม 1 ชุดทุกๆความสูง 6 เมตร
ขนาดมอเตอร์ปกติของบันไดเลื่อน (Typical Escalator Motor Size)
ตัวอย่างการคำนวณพลังงานไฟฟ้าของบันไดเลื่อน
พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในระบบบันไดเลื่อน จะขึ้นกับระยะทาง, ความกว้างของบันได และชั่วโมงการใช้งานของบันไดเลื่อนเป็นหลัก
อย่างไรก็ตาม บันไดเลื่อนรุ่นใหม่ในปัจจุบัน มีความสามารถในการตรวจจับน้ําหนักการขนส่งเพื่อปรับให้เข้าสู่โหมดประหยัดพลังงาน
ซึ่งอาจก่อให้เกิดศักยภาพในการอนุรักษ์พลังงาน มากกว่า30% ได้อีกด้วย
ในบางอาคารซึ่งไม่ได้มีคนใช้งานบันไดเลื่อนตลอดเวลาอาจติดตั้งอุปกรณ ตรวจจับคน เพื่อใช้สําหรับ
สั่งให้บันไดเลื่อนทำงานเมื่อมีคนมาใช้งาน และหยุดทำงานเมื่อไม่มีคนมาใช้งานในช่วงเวลาหนึ่ง
อุปกรณ์ตรวจจับคน ส่วนใหญ่จะเป็นแบบสวิทช์ลําแสง ติดตั้งอยู่บริเวณก่อนถึงบนไดเลื่อนก่อนประมาณ 1-2 ก้าว
หรืออาจเป็นสวิทช์ที่แผ่นพื้นกอนถึงบันไดเลื่อน
สําหรับการติดตั้งระบบตรวจจับคนอัตโนมัติเพิ่มเติมในบันไดเลื่อนที่มีอยู่แล้ว จะมีค่าใช้จ่ายโดยประมาณ 150,000 - 250,000 บาท ต่อบันไดเลื่อน 1 ชุด
จากตารางการคำนวณด้านบน สรุปได้ว่าระยะเวลาคืนทุนของการติดตั้งระบบควบคุมอัตโนมัติ
สําหรับเปิด-ปิดการใช้งานบันไดเลื่อนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานอยู่ในช่วง 2-4 ปี
ซึ่งขึ้นอยู่กับความถี่ในการใช้งานของบันไดเลื่อนตามจํานวนคนที่มาใช้บริการ(ตั้งแต่ 3 ครั้งต่อชั่วโมง ถึง ตลอดเวลา)
Credit: วิธีการคำนวณจากเอกสารเผยแพร่ของกระทรวงพลังงานครับ
โดยส่วนตัวแล้วคิดว่า น่าจะคืนทุนได้ใน 1 - 2 ปี เพราะปัจจุบันปริมาณผู้โดยสารเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้งคอนโดในแนว MRT ก็เริ่มเสร็จพร้อมเข้าอยู่ไปพอสมควร + สภาพการจราจรติดขัดขึ้นเรื่อยๆ ครับ
แสดงความคิดเห็น
MRT ปิดบันไดเลื่อนขาลงทำไมครับ ผดส. เค้าเดือดร้อน
โฆษณาเรื่องบริการอย่างเป็นเลิศ
รู้ไหมครับ นอกเวลาเร่งด่วน ผดส. บางท่านก็เดินทางอยู่นะครับ การปิดบันไดเลืี่อน มีผลให้อาจพลาดในการเดินทางแบเร่งรีบได้นะครับ ระยะทางจากชั้นออกตั๋ว ลงมาชานชาลาถ้าใช่บันไดเลื่อนจะเร็วกว่าเดินบันไดปกติ
ให้บริการแบบนี้ ลดค่าโดยสารช่วนเถอะครับ อย่าเอาเปรียบ ผดส. นักเลย