บางครั้งเมื่อดูนักบอลไทย (สโมสรไทย และทีมชาติ) ทำให้นึกถึงคำพูดเหล่านี้ครับ
“You cannot go (press) on your own…You work on zonal pressure, so that when it is in your zone, you have the capacity to press. That ability to press immediately, within five or six seconds to get the ball, is important. But you also have to understand when you can’t and what the triggers are then to go for it again because you can’t run about like a madman.” Brendan Rodgers
"คุณไม่สามารถไล่ (เพรสซิ่ง) ด้วยตัวเอง(คนเดียว)....คุณต้องทำงานในเพรสซิ่งโซนเพื่อว่าเมื่อมัน(บอล/คน?)อยู่ในโซนของคุณ คุณจะได้สามารถเพรสซิ่งได้ ความสามารถที่จะเพรสซิ่งในทันทีภายในห้าหรือหกวินาทีที่ได้รับบอลเป็นสิ่งสำคัญ แต่คุณต้องเข้าใจด้วยว่าเมื่อไหร่คุณไม่สามารถทำได้และสิ่งที่จะเป็นจังหวะ (ไม่แน่ใจแปล triggers ว่าจังหวะได้ไหม) ต่อมาเพื่อจะไป(เพรสซิ่ง)หามันอีกครั้ง เพราะว่าคุณไม่สามารถวิ่งไปทั่ว(แบบไร้ทิศทาง)เหมือนคนบ้า" เบรนดัน ร็อดเจอส์
“Do you know how Barcelona win the ball back so quickly? It’s because they don’t have to run back more than 10 metres as they never pass the ball more than 10 metres.” (Johan Cruyff)
"คุณรู้ว่าบาร์เซโลน่าได้บอลคืนมาไวมากอย่างไรใช่ไหม? เป็นเพราะว่าพวกเขาไม่ต้องวิ่งกลับไปเกินกว่าสิบเมตรในขณะเดียวกันพวกเขาไม่เคยส่งบอลไปเกินกว่าสิบเมตร" โยฮัน ครัฟฟ์
ไม่ทราบว่าผมแปลถูกไหมครับ? ศิลปะของการเพรสซิ่งเป็นคอนเซปที่รู้จักกันแพร่หลายหลังจากหนังสือของ Valeriy Lobanovsky เรื่อง ‘The Methodological Basis of the Development of Training Models’ ได้พิมพ์ออกมาถ้าใครเก่งภาษาอังกฤษช่วยแปลเล่มนี้ได้ไหมครับจะให้อุปการคุณแก่ฟุตบอลไทยอย่างมากครับ แล้วทำเป็น pdf ให้สามารถโหลดได้
เมื่อเห็นนักบอลไทยไล่บอลแล้วทำให้นึกถึงคำพูดของ เบรนดัน ร็อดเจอส์ และ โยฮัน ครัฟฟ์
“You cannot go (press) on your own…You work on zonal pressure, so that when it is in your zone, you have the capacity to press. That ability to press immediately, within five or six seconds to get the ball, is important. But you also have to understand when you can’t and what the triggers are then to go for it again because you can’t run about like a madman.” Brendan Rodgers
"คุณไม่สามารถไล่ (เพรสซิ่ง) ด้วยตัวเอง(คนเดียว)....คุณต้องทำงานในเพรสซิ่งโซนเพื่อว่าเมื่อมัน(บอล/คน?)อยู่ในโซนของคุณ คุณจะได้สามารถเพรสซิ่งได้ ความสามารถที่จะเพรสซิ่งในทันทีภายในห้าหรือหกวินาทีที่ได้รับบอลเป็นสิ่งสำคัญ แต่คุณต้องเข้าใจด้วยว่าเมื่อไหร่คุณไม่สามารถทำได้และสิ่งที่จะเป็นจังหวะ (ไม่แน่ใจแปล triggers ว่าจังหวะได้ไหม) ต่อมาเพื่อจะไป(เพรสซิ่ง)หามันอีกครั้ง เพราะว่าคุณไม่สามารถวิ่งไปทั่ว(แบบไร้ทิศทาง)เหมือนคนบ้า" เบรนดัน ร็อดเจอส์
“Do you know how Barcelona win the ball back so quickly? It’s because they don’t have to run back more than 10 metres as they never pass the ball more than 10 metres.” (Johan Cruyff)
"คุณรู้ว่าบาร์เซโลน่าได้บอลคืนมาไวมากอย่างไรใช่ไหม? เป็นเพราะว่าพวกเขาไม่ต้องวิ่งกลับไปเกินกว่าสิบเมตรในขณะเดียวกันพวกเขาไม่เคยส่งบอลไปเกินกว่าสิบเมตร" โยฮัน ครัฟฟ์
ไม่ทราบว่าผมแปลถูกไหมครับ? ศิลปะของการเพรสซิ่งเป็นคอนเซปที่รู้จักกันแพร่หลายหลังจากหนังสือของ Valeriy Lobanovsky เรื่อง ‘The Methodological Basis of the Development of Training Models’ ได้พิมพ์ออกมาถ้าใครเก่งภาษาอังกฤษช่วยแปลเล่มนี้ได้ไหมครับจะให้อุปการคุณแก่ฟุตบอลไทยอย่างมากครับ แล้วทำเป็น pdf ให้สามารถโหลดได้