จากสาเหตุหลักๆ 2 กลุ่มปัญหา
1.
http://ppantip.com/topic/30093073
2.ความขัดแย้งระหว่าง ธปท กับ รัฐบาลปู จะพาปู่ลงเหวลึกหลุดพันจุด
ข้อขัดแย้งข้อที่ 1 เรื่องอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทและอัตราดอกเบี้ย ยังคุยกันไม่รู้เรื่อง ไปคนละทาง
ข้อขัดแย้งข้อที่ 2 ใครได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์ ต่างฝ่ายต่างก็เอาสีข้างเข้าถู ผลจากการออกนโยบายต่างๆ จะมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชน ทั้งสองฝ่าย ไม่ค่อยมอง
ข้อขัดแย้งข้อที่ 3 กิตติรัต ไร้พาวเวอร์ที่จะบังคับให้ ธปท. ทำให้ค่าเงินบาทอ่อนลงไปที่ 27 บาทต่อดอลลาร์ ธปท.บอกว่า สามสิบบาทนี้กำลังดี กินเกาเหลาเห็นๆ
ข้อขัดแย้งข้อที่ 4 คุณกิตติรัต บอว่า "ผมไม่มีหน้าที่เถียงกับแบงก์ชาติ และแบงก์ชาติก็ไม่มีหน้าที่มาเถียงผม แค่ฟังผม และเถียงผมให้น้อยลง แล้วทุกอย่างจะดีขึ้นเอง เพราะผมไม่ใช่แค่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง แต่ยังเป็นผู้ดูแลภาพรวมเศรษฐกิจด้วย การที่ส่งสัญญาณว่าอยากให้บาทอ่อน ก็เพราะต้องการแบบนั้นจริง ใครจะมาฟาดปากผม ผมก็ไม่แคร์ และผมไม่ชอบที่จะให้เงินทุนไหลเข้ามามาก..." ท่าทางประสารน่าจะโดนปลดในไม่ช้า อดีต เป็นเครื่องชี้อนาคต
ข้อขัดแย้งข้อที่ 4 ประสาน เถียง กิตติรัด ว่า "ส่วนตัวไม่เห็นด้วยกับแนวคิดของรัฐมนตรีคลัง ที่ต้องการเห็นธนาคารกลางดำเนินนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนให้เงินบาทอ่อนค่า เพราะปัจจุบัน ธปท. ใช้อัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการบริหารจัดการ (managed float) มีความยืดหยุ่นตามกลไกตลาด ยกเว้นในช่วงที่เงินบาทแข็งหรืออ่อนค่าฮวบฮาบ โดยไม่ได้เกิดจากเหตุปัจจัยพื้นฐาน ธปท. ก็จะเข้าไปดูแล
คุณประสาร คำรามใส่ กิดติรัด ว่า ถ้ามีใครทำให้เงินบาทอ่อนค่าลงไปที่ 33 บาทต่อดอลลาร์ จะมีแรงเข้ามาเก็งกำไรค่าเงินบาทจากต่างชาติ ทำให้เกิดดุลยภาพเทียม เม็ดเงินจากต่างชาติจะทะลักเข้าไทยมากขึ้น ยิ่งกดดันให้เงินบาทแข็งขึ้น เป็นภาระสำหรับ ธปท. ที่ต้องเข้าไปดูดซับเงินดอลลาร์ เพื่อปล่อยเงินบาทเข้าในระบบ ขณะเดียวกัน ก็ต้องออกพันธบัตรดูดสภาพคล่องเงินบาทด้วย และถ้าเงินบาทอ่อนจะทำให้ไทยนำเข้าน้ำมันราคาแพงขึ้นอีกด้วย ....เอ็งรับผิดชอบไหมล่ะ กิดติรัด
ประสาร คำรามต่อด้วยเสียงดังที่น่ากัว ว่า นายกปู เอ้ยๆๆ ถ้าหวังจะให้ ธปท. ใช้นโยบายเคลื่อนย้ายเงินทุน นโยบายดอกเบี้ย และนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนพร้อมกันทั้ง 3 นโยบายจะไม่เป็นผลดีต่อเศรษฐกิจ ในทางกลับกัน จะเกิดผลเสียด้วยซ้ำ เหมือนวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540
ประสาน รำพึงรำพันในใจว่า กรู คือ แบงก์ชาติเป็นสถาบันที่สำคัญของประเทศ มีความเป็นอิสระในการดำเนินนโยบายตามที่ประชาชนคาดหวังและกฎหมายวางเอาไว้ เพื่อเป็น “ถ่วงดุลย์” กับฝ่ายบริหารทางการเมือง พวกเอ็งควรสำเหนียกไว้บ้าง
อีกอย่างนะ กรู และ จะเห็นตรงกันหรือต่างกันไม่สำคัญ
แต่... สิ่งที่สำคัญกว่าคือ ความโปร่งใสชัดเจนและซื่อสัตย์ต่อผลประโยชน์ของประชาชน และกรูถามพวกเอ็ง (รัดบาน ว่า พวกเอร็ง พร้อมที่จะรับผิดชอบต่อ ประเทศชาติ ประชาชนหรือไม่ ทำชาติเจีง แล้วก้ไปเลือกตั้งใหม่ ก็มาหน้าเดิมๆ แนวเดิมๆ)
จาก การสังเกต ประกอบเหตุ ของ ประสาน กับ กิดติรัด แน่นอน ปู่ มีโอกาส หันหัวกลับลงเหวได้ ในไม่ช้า
เป็นไปได้สูงที่ปู่ จะรูดมหาราชสู่เหวลึก ต่ำกว่าพันจุด
1. http://ppantip.com/topic/30093073
2.ความขัดแย้งระหว่าง ธปท กับ รัฐบาลปู จะพาปู่ลงเหวลึกหลุดพันจุด
ข้อขัดแย้งข้อที่ 1 เรื่องอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทและอัตราดอกเบี้ย ยังคุยกันไม่รู้เรื่อง ไปคนละทาง
ข้อขัดแย้งข้อที่ 2 ใครได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์ ต่างฝ่ายต่างก็เอาสีข้างเข้าถู ผลจากการออกนโยบายต่างๆ จะมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชน ทั้งสองฝ่าย ไม่ค่อยมอง
ข้อขัดแย้งข้อที่ 3 กิตติรัต ไร้พาวเวอร์ที่จะบังคับให้ ธปท. ทำให้ค่าเงินบาทอ่อนลงไปที่ 27 บาทต่อดอลลาร์ ธปท.บอกว่า สามสิบบาทนี้กำลังดี กินเกาเหลาเห็นๆ
ข้อขัดแย้งข้อที่ 4 คุณกิตติรัต บอว่า "ผมไม่มีหน้าที่เถียงกับแบงก์ชาติ และแบงก์ชาติก็ไม่มีหน้าที่มาเถียงผม แค่ฟังผม และเถียงผมให้น้อยลง แล้วทุกอย่างจะดีขึ้นเอง เพราะผมไม่ใช่แค่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง แต่ยังเป็นผู้ดูแลภาพรวมเศรษฐกิจด้วย การที่ส่งสัญญาณว่าอยากให้บาทอ่อน ก็เพราะต้องการแบบนั้นจริง ใครจะมาฟาดปากผม ผมก็ไม่แคร์ และผมไม่ชอบที่จะให้เงินทุนไหลเข้ามามาก..." ท่าทางประสารน่าจะโดนปลดในไม่ช้า อดีต เป็นเครื่องชี้อนาคต
ข้อขัดแย้งข้อที่ 4 ประสาน เถียง กิตติรัด ว่า "ส่วนตัวไม่เห็นด้วยกับแนวคิดของรัฐมนตรีคลัง ที่ต้องการเห็นธนาคารกลางดำเนินนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนให้เงินบาทอ่อนค่า เพราะปัจจุบัน ธปท. ใช้อัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการบริหารจัดการ (managed float) มีความยืดหยุ่นตามกลไกตลาด ยกเว้นในช่วงที่เงินบาทแข็งหรืออ่อนค่าฮวบฮาบ โดยไม่ได้เกิดจากเหตุปัจจัยพื้นฐาน ธปท. ก็จะเข้าไปดูแล
คุณประสาร คำรามใส่ กิดติรัด ว่า ถ้ามีใครทำให้เงินบาทอ่อนค่าลงไปที่ 33 บาทต่อดอลลาร์ จะมีแรงเข้ามาเก็งกำไรค่าเงินบาทจากต่างชาติ ทำให้เกิดดุลยภาพเทียม เม็ดเงินจากต่างชาติจะทะลักเข้าไทยมากขึ้น ยิ่งกดดันให้เงินบาทแข็งขึ้น เป็นภาระสำหรับ ธปท. ที่ต้องเข้าไปดูดซับเงินดอลลาร์ เพื่อปล่อยเงินบาทเข้าในระบบ ขณะเดียวกัน ก็ต้องออกพันธบัตรดูดสภาพคล่องเงินบาทด้วย และถ้าเงินบาทอ่อนจะทำให้ไทยนำเข้าน้ำมันราคาแพงขึ้นอีกด้วย ....เอ็งรับผิดชอบไหมล่ะ กิดติรัด
ประสาร คำรามต่อด้วยเสียงดังที่น่ากัว ว่า นายกปู เอ้ยๆๆ ถ้าหวังจะให้ ธปท. ใช้นโยบายเคลื่อนย้ายเงินทุน นโยบายดอกเบี้ย และนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนพร้อมกันทั้ง 3 นโยบายจะไม่เป็นผลดีต่อเศรษฐกิจ ในทางกลับกัน จะเกิดผลเสียด้วยซ้ำ เหมือนวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540
ประสาน รำพึงรำพันในใจว่า กรู คือ แบงก์ชาติเป็นสถาบันที่สำคัญของประเทศ มีความเป็นอิสระในการดำเนินนโยบายตามที่ประชาชนคาดหวังและกฎหมายวางเอาไว้ เพื่อเป็น “ถ่วงดุลย์” กับฝ่ายบริหารทางการเมือง พวกเอ็งควรสำเหนียกไว้บ้าง
อีกอย่างนะ กรู และ จะเห็นตรงกันหรือต่างกันไม่สำคัญ
แต่... สิ่งที่สำคัญกว่าคือ ความโปร่งใสชัดเจนและซื่อสัตย์ต่อผลประโยชน์ของประชาชน และกรูถามพวกเอ็ง (รัดบาน ว่า พวกเอร็ง พร้อมที่จะรับผิดชอบต่อ ประเทศชาติ ประชาชนหรือไม่ ทำชาติเจีง แล้วก้ไปเลือกตั้งใหม่ ก็มาหน้าเดิมๆ แนวเดิมๆ)
จาก การสังเกต ประกอบเหตุ ของ ประสาน กับ กิดติรัด แน่นอน ปู่ มีโอกาส หันหัวกลับลงเหวได้ ในไม่ช้า