คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
ค่าแรงที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการผลิต ถือเป็นต้นทุนทางตรง ต้องคำนวณเป็นต้นทุนผลิตสินค้า
การคำนวณต้นทุนเข้าแต่ละผลิตภัณฑ์ ต้องรู้ Process การผลิต และดูว่าแต่ละผลิตภัณฑ์ก่อให้เกิดต้นทุนอย่างไร แล้วใช้ตัวผลักดันต้นทุน (Cost driver ) ในการจัดสรรต้นทุนให้แต่ละผลิตภัณฑ์
ยกตัวอย่าง : ใน 1 วัน (8 ชั่วโมง) ผลิตสินค้า 3 อย่าง มึต้นทุนค่าแรงวันละ 900 บาท กรณีนี้ cost driver คือจำนวนชั่วโมงแรงงาน
วิธีการคำนวณ : ตัวอย่างสมมติ ในการผลิต 1 วัน :-
- แบบขวดขุ่น ใช้เวลาผลิต 4 ชั่วโมง ได้ 200 โหล ค่าแรง = 900/8 x 4 ชม. = 450 บาท [ 450/200 = โหลละ 2.25 บาท ]
- แบบขวด PET ใช้เวลาผลิต 2 ชั่วโมง ได้ 50 โหล ค่าแรง = 900/8 x 2 ชม. = 225 บาท [ 225/50 = โหลละ 4.50 บาท ]
- แบบแกลลอน ใช้เวลาผลิต 2 ชั่วโมง ได้ 10 โหล ค่าแรง = 900/8 x 2 ชม. = 225 บาท [ 225/10 = โหลละ 22.50 บาท ]
คงพอเป็น idea นะครับ
การคำนวณต้นทุนเข้าแต่ละผลิตภัณฑ์ ต้องรู้ Process การผลิต และดูว่าแต่ละผลิตภัณฑ์ก่อให้เกิดต้นทุนอย่างไร แล้วใช้ตัวผลักดันต้นทุน (Cost driver ) ในการจัดสรรต้นทุนให้แต่ละผลิตภัณฑ์
ยกตัวอย่าง : ใน 1 วัน (8 ชั่วโมง) ผลิตสินค้า 3 อย่าง มึต้นทุนค่าแรงวันละ 900 บาท กรณีนี้ cost driver คือจำนวนชั่วโมงแรงงาน
วิธีการคำนวณ : ตัวอย่างสมมติ ในการผลิต 1 วัน :-
- แบบขวดขุ่น ใช้เวลาผลิต 4 ชั่วโมง ได้ 200 โหล ค่าแรง = 900/8 x 4 ชม. = 450 บาท [ 450/200 = โหลละ 2.25 บาท ]
- แบบขวด PET ใช้เวลาผลิต 2 ชั่วโมง ได้ 50 โหล ค่าแรง = 900/8 x 2 ชม. = 225 บาท [ 225/50 = โหลละ 4.50 บาท ]
- แบบแกลลอน ใช้เวลาผลิต 2 ชั่วโมง ได้ 10 โหล ค่าแรง = 900/8 x 2 ชม. = 225 บาท [ 225/10 = โหลละ 22.50 บาท ]
คงพอเป็น idea นะครับ
แสดงความคิดเห็น
ถามเรื่องต้นทุนการผลิต
รบกวนผู้รู้ช่วยชี้แนะด้วยค่ะ ขอบคุณค่ะ