มีการเผยแพร่ข้อมูลในโซเชียลเน็ตเวอร์กว่า
การ "นั่งยอง" ดีกว่านั่งราบเพราะร่างกายคนวิวัฒนาการมาเพื่อให้นั่งยองในขณะที่ขับถ่าย
ด้วยความสงสัยของผม ที่เคยได้ยินมาว่านั่งราบช่วยลดอาการริดสีดวงได้ เลยสืบค้นพบ "ข้อเท็จจริง" แห่งที่มาว่า
แฟนแพจหนึ่ง ---> วิดีโอในยูทูป ---> เว็บไซต์หนึ่ง ที่ขาย "เก้าอี้สำหรับโถนั่งราบ"
ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว
- มีการลง Testimonials (ย้ำการใช้คำว่า Testimonial) ของบุคลากรในวงการสุขภาพไว้หลายท่าน
- ไปออกรายการทีวีอย่าง DrOZ, TheDr (ใน youtube account ของเว็บไซต์)
- อ้างอิงบทความทางการแพทย์สามฉบับ ที่ได้รับการตีพิมพ์ ซึ่งมีข้อสรุปสนับสนุนสมมติฐานข้างต้น
Archives of Iranian Medicine, Vol 5, No 2, April 2002
Digestive Diseases and Sciences, Vol. 48, No. 7 (July 2003)
LUTS (2010) 2, Blackwell Publishing Asia
ผมเองไม่ใช่บุคลากรทางการแพทย์ ผมยังไม่ได้ค้นหาว่าการตีพิมพ์ดังกล่าวมีจริงหรือไม่
อยากทราบความเห็นของสมาชิก หากเป็นความเห็นแย้งถ้าอ้างอิงบทความทางการแพทย์ประกอบก็น่าจะดีไม่น้อยครับ
อินโฟกราฟฟิกและวิดีโอ เกี่ยวกับประเด็นการ "นั่งยอง" ว่าดีกว่านั่งราบเพราะร่างกายคนวิวัฒนาการมาเพื่อให้นั่งยอง
การ "นั่งยอง" ดีกว่านั่งราบเพราะร่างกายคนวิวัฒนาการมาเพื่อให้นั่งยองในขณะที่ขับถ่าย
ด้วยความสงสัยของผม ที่เคยได้ยินมาว่านั่งราบช่วยลดอาการริดสีดวงได้ เลยสืบค้นพบ "ข้อเท็จจริง" แห่งที่มาว่า
แฟนแพจหนึ่ง ---> วิดีโอในยูทูป ---> เว็บไซต์หนึ่ง ที่ขาย "เก้าอี้สำหรับโถนั่งราบ"
ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว
- มีการลง Testimonials (ย้ำการใช้คำว่า Testimonial) ของบุคลากรในวงการสุขภาพไว้หลายท่าน
- ไปออกรายการทีวีอย่าง DrOZ, TheDr (ใน youtube account ของเว็บไซต์)
- อ้างอิงบทความทางการแพทย์สามฉบับ ที่ได้รับการตีพิมพ์ ซึ่งมีข้อสรุปสนับสนุนสมมติฐานข้างต้น
Archives of Iranian Medicine, Vol 5, No 2, April 2002
Digestive Diseases and Sciences, Vol. 48, No. 7 (July 2003)
LUTS (2010) 2, Blackwell Publishing Asia
ผมเองไม่ใช่บุคลากรทางการแพทย์ ผมยังไม่ได้ค้นหาว่าการตีพิมพ์ดังกล่าวมีจริงหรือไม่
อยากทราบความเห็นของสมาชิก หากเป็นความเห็นแย้งถ้าอ้างอิงบทความทางการแพทย์ประกอบก็น่าจะดีไม่น้อยครับ