8 กุมภาพันธ์ 2556 (บอร์ดสือสาร) เตรียมเอางบ USO มาแจกคูปอง และเรื่องเซ็ตท็อปบ็อก // การคุ้มครองผู้บริโภค ยังคงยึดมาตรา 37 พรบ.กสทช
ประเด็นหลัก
ประธาน กสท. กล่าวต่อว่า ที่ประชุมได้สอบถาม เรื่องการนำเงินจากการประมูลไปสนับสนุน เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์ และต่างประเทศได้ดำเนินการอย่างไรบ้าง เหตุใดจึงต้องใช้วิธีการแจกคูปอง และเรื่องเซ็ตท็อปบ็อก โดยชี้แจงว่า วิธีการแจกคูปอง 22 ล้านครัวเรือน เป็นวิธีการที่โปร่งใส เป็นธรรม และเหมาะสมกว่าวิธีอื่นๆ ส่วนผลการประชุมครั้งนี้ บอร์ด USO จำนำเสนอต่อที่ประชุมบอร์ด กสทช. ในวันที่ 13 ก.พ.2556
ขณะเดียวกัน สำนักงาน กสทช. อยู่ระหว่างการเชิญผู้ผลิต และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับเซ็ตท็อปบ็อกซ์ ทั้งหมด มารับฟังความคิดเห็นกลุ่มย่อย หรือ โฟกัสกรุ๊ป ในวันที่ 27 ก.พ. 2556
นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ด้านคุ้มครองผู้บริโภค กล่าวว่า การกำกับผู้บริโภคในยุคทีวีดิจิตอลนั้น กฎระเบียบต่างๆ อาจปรับเปลี่ยนเพื่อให้ทันยุคทันสมัยบ้าง แต่บางข้อยังยึดแนวทางเดิม ทั้งนี้ ต้องรอให้การออกอากาศในระบบดิจิตอลดำเนินการ พร้อมกับออกกฎระเบียบต่างๆ ไปพร้อมๆ กัน ซึ่งการเปลี่ยนเป็นระบบทีวีดิจิตอลนั้น คาดว่าการแทรกแซงทางการเมืองน่าจะลดลง และสื่อก็จะมีเสรีภาพและอิสระมากขึ้น เพราะฉะนั้น สื่อจะต้องกำกับตัวเองให้มากขึ้น สืบเนื่องจากที่ผ่านมามีปัญหามากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของละคร หรือออกอากาศรายการทีวี ในเมื่อทีวีดิจิตอลจะมีช่องเพิ่มขึ้น เพราะฉะนั้น ฝากถึงผู้ประกอบการด้วยว่าควรใส่ใจและให้การกำกับดูแลเนื้อหาที่จะออกอากาศด้วย
“ยุคทีวีดิจอตอล กฎระเบียบต่างๆ ในการคุ้มครองผู้บริโภค ยังคงยึดมาตรา 37 ตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ.2551 เป็นหลัก แต่อาจจะเปลี่ยนแปลงข้อระเบียบต่างๆ ให้รัดกุมมากขึ้น เพื่อให้ทันยุคทีวีดิจิตอล ที่จะมีช่องรายการเพิ่มมากขึ้น และอาจจะทำให้การกำกับดูแลยากขึ้นด้วย เนื่องจากสื่อจะมีอิสระและเสรีภาพมากกว่าตอนที่เป็นทีวีอะนาล็อก” กรรมการ กสทช. กล่าว
______________________________________________________
กสทช. เรียกผู้ประกอบการ 'เซ็ตท็อปบ๊อกซ์' ถกพร้อมกัน 27 ก.พ.
สำนักงาน กสทช. เรียกผู้ประกอบการเว็ตท็อบบ็อกซ์ทุกราย โฟกัสกรุ๊ป 27 ก.พ. ขณะที่ บอร์ด USO รีเช็กเข้มแนวทางการสนับสนุนประชาชนในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ทีวีดิจิตอล ก่อนชงบอร์ด กสทช. 13 ก.พ.นี้...
เมื่อวันที่ 8 ก.พ. พ.อ.นที ศุกลรัตน์ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. และประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ หรือ กสท. กล่าวว่า วันนี้ได้เข้าไปชี้แจงต่อคณะอนุกรรมการกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์สาธารณะ (USO) เรื่อง แนวทางการสนับสนุนประชาชนในการเปลี่ยนผ่านไปสู่การรับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ในระบบดิจิตอล โดยมีวาระสำคัญ ดังนี้ 1. การแจกจ่ายคูปองส่วนลดให้กับประชาชนทุกครัวเรือนโดยเท่าเทียมกัน ประมาณ 22 ล้านครัวเรือน 2. การแจกจ่ายคูปองส่วนลดจะใช้เงินที่ได้จากการประมูลคลื่นความถี่เพื่ออนุญาต ให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อการประกอบธุรกิจในกิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทัศน์ 3. คูปองส่วนลดสามารถนำไปเลือกใช้ได้กับการจัดหาเครื่องรับโทรทัศน์ที่รับ สัญญาณระบบดิจิตอลและอุปกรณ์แปลงสัญญาณระบบดิจิตอล หรือ เซ็ตท็อปบ็อกซ์ (Set Top Box) 4. ควรกำหนดเป็นเงื่อนไขการประมูลให้ผู้ชนะการประมูลคลื่นความถี่ฯ สนับสนุนประชาชนให้ได้รับบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอลอย่างทั่ว ถึง โดยจะต้องสนับสนุนเป็นจำนวนเงินตามมูลค่าขั้นต่ำของคลื่นความถี่ที่ได้รับอนุญาต
ประธาน กสท. กล่าวต่อว่า ที่ประชุมได้สอบถาม เรื่องการนำเงินจากการประมูลไปสนับสนุน เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์ และต่างประเทศได้ดำเนินการอย่างไรบ้าง เหตุใดจึงต้องใช้วิธีการแจกคูปอง และเรื่องเซ็ตท็อปบ็อก โดยชี้แจงว่า วิธีการแจกคูปอง 22 ล้านครัวเรือน เป็นวิธีการที่โปร่งใส เป็นธรรม และเหมาะสมกว่าวิธีอื่นๆ ส่วนผลการประชุมครั้งนี้ บอร์ด USO จำนำเสนอต่อที่ประชุมบอร์ด กสทช. ในวันที่ 13 ก.พ.2556
ขณะเดียวกัน สำนักงาน กสทช. อยู่ระหว่างการเชิญผู้ผลิต และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับเซ็ตท็อปบ็อกซ์ ทั้งหมด มารับฟังความคิดเห็นกลุ่มย่อย หรือ โฟกัสกรุ๊ป ในวันที่ 27 ก.พ. 2556
สำหรับกรอบเวลาการให้ใบอนุญาตโครงข่ายทีวีดิจิตอล จะสามารถดำเนินการได้ปลายไตรมาส 1/2556 และการคัดเลือกการประกวดราคาช่องบริการสาธารณะ พ.ค. ส่วนช่องบริการชุมชน ปลายปี 2556 ขณะที่ ราคาเริ่มต้นในการประมูลใบอนุญาต หรือ ไลเซ่นส์ ทีวีดิจิตอล ประเภทธุรกิจ จำนวน 24 ช่อง รวมช่องเอชดี 4 ช่อง นั้น จะแล้วเสร็จเดือน ก.พ. ส่วนหลักเกณฑ์การประมูลช่องธุรกิจจะแล้วเสร็จเดือน มี.ค. และจะเปิดประมูลช่วง ก.ค.-ส.ค.2556.
ไทยรัฐออนไลน์
http://www.thairath.co.th/content/tech/325441
___________________________________
กสทช.ยึด ม.37 เข้ม! คุ้มครองผู้บริโภคยุคทีวีดิจิตอล
“สุภิญญา กลางณรงค์” กรรมการ กสทช. ปรับงานคุ้มครองผู้บริโภคสู่ยุคทีวีดิจิตอล รับสื่อมีอิสระมากกว่ายุคอะนาล็อก ยึด ม.37 คาดการเมืองลดแทรกแซง วอนผู้ประกอบการดูแลเนื้อหาก่อนออกอากาศ...
นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ด้านคุ้มครองผู้บริโภค กล่าวว่า การกำกับผู้บริโภคในยุคทีวีดิจิตอลนั้น กฎระเบียบต่างๆ อาจปรับเปลี่ยนเพื่อให้ทันยุคทันสมัยบ้าง แต่บางข้อยังยึดแนวทางเดิม ทั้งนี้ ต้องรอให้การออกอากาศในระบบดิจิตอลดำเนินการ พร้อมกับออกกฎระเบียบต่างๆ ไปพร้อมๆ กัน ซึ่งการเปลี่ยนเป็นระบบทีวีดิจิตอลนั้น คาดว่าการแทรกแซงทางการเมืองน่าจะลดลง และสื่อก็จะมีเสรีภาพและอิสระมากขึ้น เพราะฉะนั้น สื่อจะต้องกำกับตัวเองให้มากขึ้น สืบเนื่องจากที่ผ่านมามีปัญหามากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของละคร หรือออกอากาศรายการทีวี ในเมื่อทีวีดิจิตอลจะมีช่องเพิ่มขึ้น เพราะฉะนั้น ฝากถึงผู้ประกอบการด้วยว่าควรใส่ใจและให้การกำกับดูแลเนื้อหาที่จะออกอากาศด้วย
“ยุคทีวีดิจอตอล กฎระเบียบต่างๆ ในการคุ้มครองผู้บริโภค ยังคงยึดมาตรา 37 ตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ.2551 เป็นหลัก แต่อาจจะเปลี่ยนแปลงข้อระเบียบต่างๆ ให้รัดกุมมากขึ้น เพื่อให้ทันยุคทีวีดิจิตอล ที่จะมีช่องรายการเพิ่มมากขึ้น และอาจจะทำให้การกำกับดูแลยากขึ้นด้วย เนื่องจากสื่อจะมีอิสระและเสรีภาพมากกว่าตอนที่เป็นทีวีอะนาล็อก” กรรมการ กสทช. กล่าว
นางสาวสุภิญญา กล่าวต่อว่า กฎระเบียบต่างๆ เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคยุคดิจิตอล จะสามารถเห็นได้ภายในปีนี้แน่นอน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ก็จำเป็นจะต้องดูผู้ประกอบการรายการในระบบทีวีดิจิตอลด้วย ว่าจะไปในทิศทางใด แต่คาดว่ากฎระเบียบจะออกไปควบคู่กับการออกอากาศทีวีดิจิตอล แต่ยังไงก็ยังคงต้องยึดหลักกฎหมายเพื่อประโยชน์ของประชาชนแน่นอน
พ.อ.นที ศุกลรัตน์ รองประธาน กสทช. และประธาน กสท. กล่าวว่า คุณภาพรายการเป็นเรื่องของการกำกับดูแล เกิดจากระบบใบอนุญาต เช่นเดียวกับระบบอะนาล็อก ทั้งนี้ ส่วนตัวมองว่าเมื่อช่องทีวีเพิ่มขึ้น การกำกับดูแลก็น่าที่จะมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนเพิ่มขึ้น ขณะที่ กสทช.ก็มีโครงข่ายผู้บริโภคคอยรับเรื่องร้องเรียน และมีหน้าที่คอยสอดส่องดูแลอยู่แล้ว หรือถ้าประชาชนเห็นว่าไม่เหมาะสม ก็สามารถส่งเรื่องร้องเรียนเข้ามาได้ที่ คอลเซ็นเตอร์ 1200
http://www.thairath.co.th/content/tech/325445
_____________________________________
กสทช.จ่อเคาะทีวีดิจิตอล13ก.พ.
กสทช.เรียกผู้ประกอบการ Set Top Box ทุกราย ร่วมหารือ 27 ก.พ.นี้ ขณะที่บอร์ด USO เน้นแนวทางการสนับสนุนประชาชน ก่อนชงบอร์ด กสทช. 13 ก.พ.นี้ ‘สุภิญญา’ ปรับงานคุ้มครองผู้บริโภคสู่ยุคทีวีดิจิตอล
พ.อ.นที ศุกลรัตน์ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. และประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ หรือ กสท. กล่าวว่า วันนี้ได้เข้าไปชี้แจงต่อคณะอนุกรรมการกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือ USO เรื่องแนวทางการสนับสนุนประชาชนในการเปลี่ยนผ่านไปสู่การรับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอล โดยมีวาระสำคัญ ดังนี้ 1.การแจกจ่ายคูปองส่วนลดให้กับประชาชนทุกครัวเรือนโดยเท่าเทียมกัน ประมาณ 22 ล้านครัวเรือน 2.การแจกจ่ายคูปองส่วนลดจะใช้เงินที่ได้จากการประมูลคลื่นความถี่เพื่ออนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อการประกอบธุรกิจในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ 3.คูปองส่วนลดสามารถนำไปเลือกใช้ได้กับการจัดหาเครื่องรับโทรทัศน์ที่รับสัญญาณระบบดิจิตอลและอุปกรณ์แปลงสัญญาณระบบดิจิตอล หรือเซ็ตท็อปบ็อกซ์ (Set Top Box) 4.ควรกำหนดเป็นเงื่อนไขการประมูลให้ผู้ชนะการประมูลคลื่นความถี่ฯ สนับสนุนประชาชนให้ได้รับบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอลอย่างทั่วถึง โดยจะต้องสนับสนุนเป็นจำนวนเงินตามมูลค่าขั้นต่ำของคลื่นความถี่ที่ได้รับอนุญาต
พ.อ.นทีกล่าวเพิ่มเติมอีกว่า ที่ประชุมได้สอบถามเรื่องการนำเงินจากการประมูลไปสนับสนุน เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์ และต่างประเทศได้ดำเนินการอย่างไรบ้าง เหตุใดจึงต้องใช้วิธีการแจกคูปอง และเรื่องเซ็ตท็อปบ็อกซ์ โดยชี้แจงว่า วิธีการแจกคูปอง 22 ล้านครัวเรือน เป็นวิธีการที่ไม่เป็นการแทรกแซงตลาด และเหมาะสมกว่าวิธีอื่นๆ ส่วนผลการประชุมครั้งนี้ บอร์ด USO จะนำเสนอต่อที่ประชุมบอร์ด กสทช. ในวันที่ 13 ก.พ.2556 ขณะเดียวกันสำนักงาน กสทช.อยู่ระหว่างประชาสัมพันธ์ให้ผู้ผลิต และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับเซ็ตท็อปบ็อกซ์ทั้งหมดมารับฟังความคิดเห็นกลุ่มย่อย หรือโฟกัสกรุ๊ป ในวันที่ 27 ก.พ.2556
สำหรับกรอบเวลาการให้ใบอนุญาตโครงข่ายทีวีดิจิตอลจะสามารถดำเนินการได้ปลายไตรมาส 1/2556 และการคัดเลือกการประกวดราคาช่องบริการสาธารณะ ภายในเดือน พ.ค. ส่วนช่องบริการชุมชน ปลายปี 2556 ขณะที่ราคาเริ่มต้นในการประมูลใบอนุญาต หรือไลเซนส์ ทีวีดิจิตอล ประเภทธุรกิจ จำนวน 24 ช่อง รวมช่องเอชดี 4 ช่องนั้น จะแล้วเสร็จเดือน ก.พ. ส่วนหลักเกณฑ์การประมูลช่องธุรกิจจะแล้วเสร็จเดือน มี.ค. และจะเปิดประมูลช่วง ก.ค.-ส.ค.2556
นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. ด้านคุ้มครองผู้บริโภค เปิดเผยว่า การกำกับผู้บริโภคในยุคทีวีดิจิตอลนั้น กฎระเบียบต่างๆ อาจมีการปรับเปลี่ยนเพื่อให้ทันยุคทันสมัยบ้าง แต่บางข้อก็ยังยึดแนวทางเดิม ทั้งนี้ ก็ต้องรอให้การออกอากาศในระบบดิจิตอลดำเนินการพร้อมกับออกกฎระเบียบต่างๆ ไปพร้อมๆ กัน ซึ่งการเปลี่ยนเป็นระบบทีวีดิจิตอลนั้น คาดว่าการแทรกแซงทางการเมืองน่าจะลดลง และสื่อก็จะมีเสรีภาพและอิสระมากขึ้น เพราะฉะนั้นสื่อจะต้องกำกับตัวเองให้มากขึ้น
“กฎระเบียบต่างๆ ในการคุ้มครองผู้บริโภคก็ยังคงยึด ม.37 เป็นทุนเดิม อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงข้อระเบียบต่างๆ ให้รัดกุมมากขึ้น โดยกฎระเบียบต่างๆ เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคยุคดิจิตอลจะสามารถเห็นได้ภายในปีนี้แน่นอน" นางสาวสุภิญญากล่าว.
http://www.thaipost.net/news/090213/69289
(บอร์ดสือสาร) เตรียมเอางบ USO มาแจกคูปอง และเรื่องเซ็ตท็อปบ็อก // การคุ้มครองผู้บริโภค ยังคงยึดมาตรา 37 พรบ.กสทช
ประเด็นหลัก
ประธาน กสท. กล่าวต่อว่า ที่ประชุมได้สอบถาม เรื่องการนำเงินจากการประมูลไปสนับสนุน เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์ และต่างประเทศได้ดำเนินการอย่างไรบ้าง เหตุใดจึงต้องใช้วิธีการแจกคูปอง และเรื่องเซ็ตท็อปบ็อก โดยชี้แจงว่า วิธีการแจกคูปอง 22 ล้านครัวเรือน เป็นวิธีการที่โปร่งใส เป็นธรรม และเหมาะสมกว่าวิธีอื่นๆ ส่วนผลการประชุมครั้งนี้ บอร์ด USO จำนำเสนอต่อที่ประชุมบอร์ด กสทช. ในวันที่ 13 ก.พ.2556
ขณะเดียวกัน สำนักงาน กสทช. อยู่ระหว่างการเชิญผู้ผลิต และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับเซ็ตท็อปบ็อกซ์ ทั้งหมด มารับฟังความคิดเห็นกลุ่มย่อย หรือ โฟกัสกรุ๊ป ในวันที่ 27 ก.พ. 2556
นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ด้านคุ้มครองผู้บริโภค กล่าวว่า การกำกับผู้บริโภคในยุคทีวีดิจิตอลนั้น กฎระเบียบต่างๆ อาจปรับเปลี่ยนเพื่อให้ทันยุคทันสมัยบ้าง แต่บางข้อยังยึดแนวทางเดิม ทั้งนี้ ต้องรอให้การออกอากาศในระบบดิจิตอลดำเนินการ พร้อมกับออกกฎระเบียบต่างๆ ไปพร้อมๆ กัน ซึ่งการเปลี่ยนเป็นระบบทีวีดิจิตอลนั้น คาดว่าการแทรกแซงทางการเมืองน่าจะลดลง และสื่อก็จะมีเสรีภาพและอิสระมากขึ้น เพราะฉะนั้น สื่อจะต้องกำกับตัวเองให้มากขึ้น สืบเนื่องจากที่ผ่านมามีปัญหามากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของละคร หรือออกอากาศรายการทีวี ในเมื่อทีวีดิจิตอลจะมีช่องเพิ่มขึ้น เพราะฉะนั้น ฝากถึงผู้ประกอบการด้วยว่าควรใส่ใจและให้การกำกับดูแลเนื้อหาที่จะออกอากาศด้วย
“ยุคทีวีดิจอตอล กฎระเบียบต่างๆ ในการคุ้มครองผู้บริโภค ยังคงยึดมาตรา 37 ตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ.2551 เป็นหลัก แต่อาจจะเปลี่ยนแปลงข้อระเบียบต่างๆ ให้รัดกุมมากขึ้น เพื่อให้ทันยุคทีวีดิจิตอล ที่จะมีช่องรายการเพิ่มมากขึ้น และอาจจะทำให้การกำกับดูแลยากขึ้นด้วย เนื่องจากสื่อจะมีอิสระและเสรีภาพมากกว่าตอนที่เป็นทีวีอะนาล็อก” กรรมการ กสทช. กล่าว
______________________________________________________
กสทช. เรียกผู้ประกอบการ 'เซ็ตท็อปบ๊อกซ์' ถกพร้อมกัน 27 ก.พ.
สำนักงาน กสทช. เรียกผู้ประกอบการเว็ตท็อบบ็อกซ์ทุกราย โฟกัสกรุ๊ป 27 ก.พ. ขณะที่ บอร์ด USO รีเช็กเข้มแนวทางการสนับสนุนประชาชนในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ทีวีดิจิตอล ก่อนชงบอร์ด กสทช. 13 ก.พ.นี้...
เมื่อวันที่ 8 ก.พ. พ.อ.นที ศุกลรัตน์ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. และประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ หรือ กสท. กล่าวว่า วันนี้ได้เข้าไปชี้แจงต่อคณะอนุกรรมการกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์สาธารณะ (USO) เรื่อง แนวทางการสนับสนุนประชาชนในการเปลี่ยนผ่านไปสู่การรับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ในระบบดิจิตอล โดยมีวาระสำคัญ ดังนี้ 1. การแจกจ่ายคูปองส่วนลดให้กับประชาชนทุกครัวเรือนโดยเท่าเทียมกัน ประมาณ 22 ล้านครัวเรือน 2. การแจกจ่ายคูปองส่วนลดจะใช้เงินที่ได้จากการประมูลคลื่นความถี่เพื่ออนุญาต ให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อการประกอบธุรกิจในกิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทัศน์ 3. คูปองส่วนลดสามารถนำไปเลือกใช้ได้กับการจัดหาเครื่องรับโทรทัศน์ที่รับ สัญญาณระบบดิจิตอลและอุปกรณ์แปลงสัญญาณระบบดิจิตอล หรือ เซ็ตท็อปบ็อกซ์ (Set Top Box) 4. ควรกำหนดเป็นเงื่อนไขการประมูลให้ผู้ชนะการประมูลคลื่นความถี่ฯ สนับสนุนประชาชนให้ได้รับบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอลอย่างทั่ว ถึง โดยจะต้องสนับสนุนเป็นจำนวนเงินตามมูลค่าขั้นต่ำของคลื่นความถี่ที่ได้รับอนุญาต
ประธาน กสท. กล่าวต่อว่า ที่ประชุมได้สอบถาม เรื่องการนำเงินจากการประมูลไปสนับสนุน เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์ และต่างประเทศได้ดำเนินการอย่างไรบ้าง เหตุใดจึงต้องใช้วิธีการแจกคูปอง และเรื่องเซ็ตท็อปบ็อก โดยชี้แจงว่า วิธีการแจกคูปอง 22 ล้านครัวเรือน เป็นวิธีการที่โปร่งใส เป็นธรรม และเหมาะสมกว่าวิธีอื่นๆ ส่วนผลการประชุมครั้งนี้ บอร์ด USO จำนำเสนอต่อที่ประชุมบอร์ด กสทช. ในวันที่ 13 ก.พ.2556
ขณะเดียวกัน สำนักงาน กสทช. อยู่ระหว่างการเชิญผู้ผลิต และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับเซ็ตท็อปบ็อกซ์ ทั้งหมด มารับฟังความคิดเห็นกลุ่มย่อย หรือ โฟกัสกรุ๊ป ในวันที่ 27 ก.พ. 2556
สำหรับกรอบเวลาการให้ใบอนุญาตโครงข่ายทีวีดิจิตอล จะสามารถดำเนินการได้ปลายไตรมาส 1/2556 และการคัดเลือกการประกวดราคาช่องบริการสาธารณะ พ.ค. ส่วนช่องบริการชุมชน ปลายปี 2556 ขณะที่ ราคาเริ่มต้นในการประมูลใบอนุญาต หรือ ไลเซ่นส์ ทีวีดิจิตอล ประเภทธุรกิจ จำนวน 24 ช่อง รวมช่องเอชดี 4 ช่อง นั้น จะแล้วเสร็จเดือน ก.พ. ส่วนหลักเกณฑ์การประมูลช่องธุรกิจจะแล้วเสร็จเดือน มี.ค. และจะเปิดประมูลช่วง ก.ค.-ส.ค.2556.
ไทยรัฐออนไลน์
http://www.thairath.co.th/content/tech/325441
___________________________________
กสทช.ยึด ม.37 เข้ม! คุ้มครองผู้บริโภคยุคทีวีดิจิตอล
“สุภิญญา กลางณรงค์” กรรมการ กสทช. ปรับงานคุ้มครองผู้บริโภคสู่ยุคทีวีดิจิตอล รับสื่อมีอิสระมากกว่ายุคอะนาล็อก ยึด ม.37 คาดการเมืองลดแทรกแซง วอนผู้ประกอบการดูแลเนื้อหาก่อนออกอากาศ...
นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ด้านคุ้มครองผู้บริโภค กล่าวว่า การกำกับผู้บริโภคในยุคทีวีดิจิตอลนั้น กฎระเบียบต่างๆ อาจปรับเปลี่ยนเพื่อให้ทันยุคทันสมัยบ้าง แต่บางข้อยังยึดแนวทางเดิม ทั้งนี้ ต้องรอให้การออกอากาศในระบบดิจิตอลดำเนินการ พร้อมกับออกกฎระเบียบต่างๆ ไปพร้อมๆ กัน ซึ่งการเปลี่ยนเป็นระบบทีวีดิจิตอลนั้น คาดว่าการแทรกแซงทางการเมืองน่าจะลดลง และสื่อก็จะมีเสรีภาพและอิสระมากขึ้น เพราะฉะนั้น สื่อจะต้องกำกับตัวเองให้มากขึ้น สืบเนื่องจากที่ผ่านมามีปัญหามากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของละคร หรือออกอากาศรายการทีวี ในเมื่อทีวีดิจิตอลจะมีช่องเพิ่มขึ้น เพราะฉะนั้น ฝากถึงผู้ประกอบการด้วยว่าควรใส่ใจและให้การกำกับดูแลเนื้อหาที่จะออกอากาศด้วย
“ยุคทีวีดิจอตอล กฎระเบียบต่างๆ ในการคุ้มครองผู้บริโภค ยังคงยึดมาตรา 37 ตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ.2551 เป็นหลัก แต่อาจจะเปลี่ยนแปลงข้อระเบียบต่างๆ ให้รัดกุมมากขึ้น เพื่อให้ทันยุคทีวีดิจิตอล ที่จะมีช่องรายการเพิ่มมากขึ้น และอาจจะทำให้การกำกับดูแลยากขึ้นด้วย เนื่องจากสื่อจะมีอิสระและเสรีภาพมากกว่าตอนที่เป็นทีวีอะนาล็อก” กรรมการ กสทช. กล่าว
นางสาวสุภิญญา กล่าวต่อว่า กฎระเบียบต่างๆ เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคยุคดิจิตอล จะสามารถเห็นได้ภายในปีนี้แน่นอน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ก็จำเป็นจะต้องดูผู้ประกอบการรายการในระบบทีวีดิจิตอลด้วย ว่าจะไปในทิศทางใด แต่คาดว่ากฎระเบียบจะออกไปควบคู่กับการออกอากาศทีวีดิจิตอล แต่ยังไงก็ยังคงต้องยึดหลักกฎหมายเพื่อประโยชน์ของประชาชนแน่นอน
พ.อ.นที ศุกลรัตน์ รองประธาน กสทช. และประธาน กสท. กล่าวว่า คุณภาพรายการเป็นเรื่องของการกำกับดูแล เกิดจากระบบใบอนุญาต เช่นเดียวกับระบบอะนาล็อก ทั้งนี้ ส่วนตัวมองว่าเมื่อช่องทีวีเพิ่มขึ้น การกำกับดูแลก็น่าที่จะมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนเพิ่มขึ้น ขณะที่ กสทช.ก็มีโครงข่ายผู้บริโภคคอยรับเรื่องร้องเรียน และมีหน้าที่คอยสอดส่องดูแลอยู่แล้ว หรือถ้าประชาชนเห็นว่าไม่เหมาะสม ก็สามารถส่งเรื่องร้องเรียนเข้ามาได้ที่ คอลเซ็นเตอร์ 1200
http://www.thairath.co.th/content/tech/325445
_____________________________________
กสทช.จ่อเคาะทีวีดิจิตอล13ก.พ.
กสทช.เรียกผู้ประกอบการ Set Top Box ทุกราย ร่วมหารือ 27 ก.พ.นี้ ขณะที่บอร์ด USO เน้นแนวทางการสนับสนุนประชาชน ก่อนชงบอร์ด กสทช. 13 ก.พ.นี้ ‘สุภิญญา’ ปรับงานคุ้มครองผู้บริโภคสู่ยุคทีวีดิจิตอล
พ.อ.นที ศุกลรัตน์ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. และประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ หรือ กสท. กล่าวว่า วันนี้ได้เข้าไปชี้แจงต่อคณะอนุกรรมการกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือ USO เรื่องแนวทางการสนับสนุนประชาชนในการเปลี่ยนผ่านไปสู่การรับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอล โดยมีวาระสำคัญ ดังนี้ 1.การแจกจ่ายคูปองส่วนลดให้กับประชาชนทุกครัวเรือนโดยเท่าเทียมกัน ประมาณ 22 ล้านครัวเรือน 2.การแจกจ่ายคูปองส่วนลดจะใช้เงินที่ได้จากการประมูลคลื่นความถี่เพื่ออนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อการประกอบธุรกิจในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ 3.คูปองส่วนลดสามารถนำไปเลือกใช้ได้กับการจัดหาเครื่องรับโทรทัศน์ที่รับสัญญาณระบบดิจิตอลและอุปกรณ์แปลงสัญญาณระบบดิจิตอล หรือเซ็ตท็อปบ็อกซ์ (Set Top Box) 4.ควรกำหนดเป็นเงื่อนไขการประมูลให้ผู้ชนะการประมูลคลื่นความถี่ฯ สนับสนุนประชาชนให้ได้รับบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอลอย่างทั่วถึง โดยจะต้องสนับสนุนเป็นจำนวนเงินตามมูลค่าขั้นต่ำของคลื่นความถี่ที่ได้รับอนุญาต
พ.อ.นทีกล่าวเพิ่มเติมอีกว่า ที่ประชุมได้สอบถามเรื่องการนำเงินจากการประมูลไปสนับสนุน เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์ และต่างประเทศได้ดำเนินการอย่างไรบ้าง เหตุใดจึงต้องใช้วิธีการแจกคูปอง และเรื่องเซ็ตท็อปบ็อกซ์ โดยชี้แจงว่า วิธีการแจกคูปอง 22 ล้านครัวเรือน เป็นวิธีการที่ไม่เป็นการแทรกแซงตลาด และเหมาะสมกว่าวิธีอื่นๆ ส่วนผลการประชุมครั้งนี้ บอร์ด USO จะนำเสนอต่อที่ประชุมบอร์ด กสทช. ในวันที่ 13 ก.พ.2556 ขณะเดียวกันสำนักงาน กสทช.อยู่ระหว่างประชาสัมพันธ์ให้ผู้ผลิต และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับเซ็ตท็อปบ็อกซ์ทั้งหมดมารับฟังความคิดเห็นกลุ่มย่อย หรือโฟกัสกรุ๊ป ในวันที่ 27 ก.พ.2556
สำหรับกรอบเวลาการให้ใบอนุญาตโครงข่ายทีวีดิจิตอลจะสามารถดำเนินการได้ปลายไตรมาส 1/2556 และการคัดเลือกการประกวดราคาช่องบริการสาธารณะ ภายในเดือน พ.ค. ส่วนช่องบริการชุมชน ปลายปี 2556 ขณะที่ราคาเริ่มต้นในการประมูลใบอนุญาต หรือไลเซนส์ ทีวีดิจิตอล ประเภทธุรกิจ จำนวน 24 ช่อง รวมช่องเอชดี 4 ช่องนั้น จะแล้วเสร็จเดือน ก.พ. ส่วนหลักเกณฑ์การประมูลช่องธุรกิจจะแล้วเสร็จเดือน มี.ค. และจะเปิดประมูลช่วง ก.ค.-ส.ค.2556
นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. ด้านคุ้มครองผู้บริโภค เปิดเผยว่า การกำกับผู้บริโภคในยุคทีวีดิจิตอลนั้น กฎระเบียบต่างๆ อาจมีการปรับเปลี่ยนเพื่อให้ทันยุคทันสมัยบ้าง แต่บางข้อก็ยังยึดแนวทางเดิม ทั้งนี้ ก็ต้องรอให้การออกอากาศในระบบดิจิตอลดำเนินการพร้อมกับออกกฎระเบียบต่างๆ ไปพร้อมๆ กัน ซึ่งการเปลี่ยนเป็นระบบทีวีดิจิตอลนั้น คาดว่าการแทรกแซงทางการเมืองน่าจะลดลง และสื่อก็จะมีเสรีภาพและอิสระมากขึ้น เพราะฉะนั้นสื่อจะต้องกำกับตัวเองให้มากขึ้น
“กฎระเบียบต่างๆ ในการคุ้มครองผู้บริโภคก็ยังคงยึด ม.37 เป็นทุนเดิม อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงข้อระเบียบต่างๆ ให้รัดกุมมากขึ้น โดยกฎระเบียบต่างๆ เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคยุคดิจิตอลจะสามารถเห็นได้ภายในปีนี้แน่นอน" นางสาวสุภิญญากล่าว.
http://www.thaipost.net/news/090213/69289