1ทราบหรือไม่ครับว่าพระไตรปิฏกแท้ๆมีฉบับเดียวคือพระไตรปิฏกเถรวาทบาลี ที่เราพม่าลังกาลาวใช้กันอยู่
2ทราบหรือไม่ครับว่าที่มหายานแยกตัวออกจากเถรวาทตั้งแต่ 100ปีหลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานนั้น
เขาแยกตัวออกมาเพราะเขาเห็นว่าพระควรรับเงินได้ กินเหล้าอ่อนๆได้ พอเถรวาทไม่ยอมก็แยกตัวออกมา
แล้วสังคายนาพระไตรปิฏกใหม่ โดยมีคำสอนของนักปราชญ์ในนิกายมหายานเองปนเข้ามา
ใครเห็นอย่างไรก็ใส่เข้าไป เรียกว่าอาจาริยาวาท คือคำสอนของอาจารย์ ผลจากเหตุนี้ทำให้มหายานแตกเป็นหลายนิกาย
เช่นวัชรยาน มนตรยาน ที่หนักที่สุดคือตันตระเจ้าของคัมภีร์กามสูตรอี๊บเท่านั้นเพื่อบรรลุนิพพานเป็นต้น
3 แต่พุทธเถรวาทของเรานั้นเรียกว่า เถรวาท คือ คำสอนของพระพุทธเจ้าเท่านั้น
การที่วัดธรรมกายไปรวบรวมคำสอนระดับสาวกของมหายาน จากจีน จากเขมร และอื่นๆ ซึ่งไม่ใช่คำสอนโดยตรงของพระพุทธเจ้า
และอีกทั้งมีแนวทางต่างกันโดยสิ้นเชิงทั้งวิธีการปฏิบัติ คำสอนในระดับลึก ต่างๆ ผมขอถามว่า
วัด-คุณ-ต้อง-การ-อะ-ไร-กัน-แน่-ครับ
-------------------------------------------
ของขวัญวันธรรมชัยจากกรุงปักกิ่ง
เรียบเรียงจากรายการโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา
วันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ.2555
กราบนมัสการพระเดชพระคุณหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูงค่ะ
ทีมงานพระภิกษุและนักศึกษาในโครงการดวงตะวันสันติภาพของวัดพระธรรมกาย ลูกพระธัมฯ ณ กรุงปักกิ่ง ขอน้อมนำผลงานด้านวิชาการถวายคุณครูไม่ใหญ่ เป็นของขวัญเนื่องในวันธรรมชัย คือหนังสือพระไตรปิฎกฉบับทีฆนิกายตีพิมพ์เสร็จสมบูรณ์
ภาพหน้าปกหนังสือพระไตรปิฏกฉบับทีฆนิกายโดยได้น้อมนำ
รูปธงมหาธรรมกายเจดีย์ จารึกไว้บนปกหนังสือเคียงคู่กับสัญลักษณ์
สถาบันวิจัยคัมภีร์ใบลานทางด้านพุทธศาสนา แห่งมหาวิทยาลัยปักกิ่ง
หนังสือเล่มนี้มีกำเนิดเมื่อวันธรรมชัย ปี พ.ศ.2552 ที่มีการเซ็นสัญญาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันธรรมชัย และ สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยปักกิ่ง ซึ่งนำทีมโดยศาสตราจารย์ต้วนฉิง คณบดีสถาบันวิจัยคัมภีร์ใบลานทางด้านพุทธศาสนา ท่านเป็นศิษย์เอกของศาสตราจารย์จี้เซี่ยนหลิน (นักแปลผู้มีความเชี่ยวชาญถึง 12 ภาษาเคยดำรงตำแหน่งรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยปักกิ่ง) ซึ่งท่านศาสตราจารย์จี้เซี่ยนหลินเคยมีความปรารถนาที่จะแปลพระไตรปิฎกบาลีเป็นจีน กระทั่งศาสตราจารย์ต้วนฉิงได้สืบทอดมโนปณิธานของท่านให้สำเร็จในยุคนี้
ศาสตราจารย์ต้วนฉิงผู้มีความชำนาญหลายภาษา เช่น ภาษาสันสกฤต บาลี อังกฤษ เยอรมัน
รัสเซีย ฝรั่งเศส อิหร่าน และซากาเป็นต้น สำหรับภาษาซากา
(ภาษาในกลุ่มประเทศอารยธรรมเส้นทางสายไหม) มีเพียงบุคคลในโลก 5 ท่านที่ชำนาญภาษานี้
ความสำเร็จครั้งนี้เกิดจากทางมหาวิทยาลัยปักกิ่ง คณะภาษาต่างประเทศสาขาวิชาภาษาบาลีสันสกฤตไม่ได้เปิดรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีมา 20ปีแล้ว จนในช่วง 4 ปีที่ผ่านมาถึงได้เปิดรับนักศึกษา ซึ่งมีนักศึกษาโครงการดวงตะวันสันติภาพของวัดพระธรรมกายได้เข้าเรียนในวิชานั้น จึงทำให้ทราบถึงความปรารถนาของศาสตราจารย์ต้วนฉิงที่จะทำคำรำพึงของอาจารย์ให้สำเร็จทำให้เกิดความร่วมมือกับทางสถาบันธรรมชัย
ทีมงานมหาวิทยาลัยปักกิ่งได้ทำการแปลพระไตรปิฎกจากภาษาบาลีเป็นภาษาจีนจากนั้นส่งให้ทีมงานสถาบันธรรมชัยช่วยตรวจสอบความถูกต้องของการแปล ทีมงานทั้งสองฝ่ายได้ช่วยกันตรวจสอบนับครั้งไม่ถ้วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งศาสตราจารย์ต้วนฉิงได้ทุ่มเทแรงกายและแรงใจในการตรวจสอบความถูกต้องด้วยตัวเองทั้งหมด
พิธีเซ็นสัญญาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันธรรมชัย และ
สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยปักกิ่ง เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2552
ศาสตราจารย์ต้วนฉิง ได้กล่าวว่า “หนังสือพระไตรปิฎกฉบับทีฆนิกายเล่มนี้เป็นเหมือนผลึกอัญมณีที่มีคุณค่าและความหมายกับชาวจีนเป็นอย่างมาก เพราะจะทำให้ชาวจีนได้เข้าใจแนวทางคำสอนของพระพุทธศาสนาดั้งเดิม ซึ่งคำสอนเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อแนวความคิดของสังคมจีนดังนั้นดิฉันหวังให้หนังสือมียอดจำหน่ายที่สูง เมื่อทุกคนได้อ่านจะช่วยยกระดับมาตรฐานคุณธรรมให้สูงขึ้น
ศาสตราจารย์ต้วนฉิงและหนังสือพระไตรปิฎกทีฆนิกาย
“ถือเป็นเพียงก้าวเล็กๆก้าวแรกเท่านั้นจึงอยากรีบทำมัชฌิมนิกายให้เสร็จโดยเร็ว”
ซึ่งหนังสือพระไตรปิฎกทีฆนิกายเล่มนี้ ถือเป็นเพียงก้าวเล็กๆก้าวแรกเท่านั้นจึงอยากรีบทำมัชฌิมนิกายให้เสร็จโดยเร็วและหวังว่าทางสถาบันธรรมชัยวัดพระธรรมกายจะสนับสนุนเราเช่นเดิมดั่งที่ผ่านมา”
ทีมงานพระนักศึกษา และนักศึกษาจากโครงการดวงตะวันสันติภาพ
ของวัดพระธรรมกาย ลูกพระธัมฯ ณ กรุงปักกิ่ง ถ่ายรูปร่วมกับศาสตราจารย์ต้วนฉิง
บัตรอวยพรที่เขียนด้วยลายมือของศาสตราจารย์ต้วนฉิง
ถวายคุณครูไม่ใหญ่เนื่องในวันธรรมชัย 27 สิงหาคม พ.ศ.2555 (บน-ล่าง)
ท้ายที่สุดนี้เนื่องในวาระวันธรรมชัยที่เป็นวันแห่งการเริ่มต้นและวันสำเร็จของหนังสือเล่มนี้ศาสตราจารย์ต้วนฉิงจึงส่งบัตรอวยพรซึ่งมีเนื้อหาความว่า “ปรารถนาให้พระเดชพระคุณหลวงพ่อธัมมชโยมีอายุยืนยาวถึง 1 กัปป์เพื่อเกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลกทั้งหลาย กราบขอความเมตตาพระเดชพระคุณหลวงพ่อประทานพรให้แก่ดิฉัน เพื่อให้การแปลพระไตรปิฏกนี้เป็นไปอย่างราบรื่น จากศาสตาจารยต้วนฉิง 20 สิงหาคม พ.ศ.2555 ณ มหาวิทยาลัยปักกิ่ง”
(ฆารวี โชคคุณะวัฒนา: เรียบเรียง)
ไหนๆช่วงนี้พวกMarketingธรรมกายก็อยู่ทำ OT กันอยู่แล้วขอถามเรื่องพระไตรปิฏกธรรมชัยหน่อยครับ
2ทราบหรือไม่ครับว่าที่มหายานแยกตัวออกจากเถรวาทตั้งแต่ 100ปีหลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานนั้น
เขาแยกตัวออกมาเพราะเขาเห็นว่าพระควรรับเงินได้ กินเหล้าอ่อนๆได้ พอเถรวาทไม่ยอมก็แยกตัวออกมา
แล้วสังคายนาพระไตรปิฏกใหม่ โดยมีคำสอนของนักปราชญ์ในนิกายมหายานเองปนเข้ามา
ใครเห็นอย่างไรก็ใส่เข้าไป เรียกว่าอาจาริยาวาท คือคำสอนของอาจารย์ ผลจากเหตุนี้ทำให้มหายานแตกเป็นหลายนิกาย
เช่นวัชรยาน มนตรยาน ที่หนักที่สุดคือตันตระเจ้าของคัมภีร์กามสูตรอี๊บเท่านั้นเพื่อบรรลุนิพพานเป็นต้น
3 แต่พุทธเถรวาทของเรานั้นเรียกว่า เถรวาท คือ คำสอนของพระพุทธเจ้าเท่านั้น
การที่วัดธรรมกายไปรวบรวมคำสอนระดับสาวกของมหายาน จากจีน จากเขมร และอื่นๆ ซึ่งไม่ใช่คำสอนโดยตรงของพระพุทธเจ้า
และอีกทั้งมีแนวทางต่างกันโดยสิ้นเชิงทั้งวิธีการปฏิบัติ คำสอนในระดับลึก ต่างๆ ผมขอถามว่า
วัด-คุณ-ต้อง-การ-อะ-ไร-กัน-แน่-ครับ
-------------------------------------------
ของขวัญวันธรรมชัยจากกรุงปักกิ่ง
เรียบเรียงจากรายการโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา
วันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ.2555
กราบนมัสการพระเดชพระคุณหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูงค่ะ
ทีมงานพระภิกษุและนักศึกษาในโครงการดวงตะวันสันติภาพของวัดพระธรรมกาย ลูกพระธัมฯ ณ กรุงปักกิ่ง ขอน้อมนำผลงานด้านวิชาการถวายคุณครูไม่ใหญ่ เป็นของขวัญเนื่องในวันธรรมชัย คือหนังสือพระไตรปิฎกฉบับทีฆนิกายตีพิมพ์เสร็จสมบูรณ์
ภาพหน้าปกหนังสือพระไตรปิฏกฉบับทีฆนิกายโดยได้น้อมนำ
รูปธงมหาธรรมกายเจดีย์ จารึกไว้บนปกหนังสือเคียงคู่กับสัญลักษณ์
สถาบันวิจัยคัมภีร์ใบลานทางด้านพุทธศาสนา แห่งมหาวิทยาลัยปักกิ่ง
หนังสือเล่มนี้มีกำเนิดเมื่อวันธรรมชัย ปี พ.ศ.2552 ที่มีการเซ็นสัญญาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันธรรมชัย และ สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยปักกิ่ง ซึ่งนำทีมโดยศาสตราจารย์ต้วนฉิง คณบดีสถาบันวิจัยคัมภีร์ใบลานทางด้านพุทธศาสนา ท่านเป็นศิษย์เอกของศาสตราจารย์จี้เซี่ยนหลิน (นักแปลผู้มีความเชี่ยวชาญถึง 12 ภาษาเคยดำรงตำแหน่งรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยปักกิ่ง) ซึ่งท่านศาสตราจารย์จี้เซี่ยนหลินเคยมีความปรารถนาที่จะแปลพระไตรปิฎกบาลีเป็นจีน กระทั่งศาสตราจารย์ต้วนฉิงได้สืบทอดมโนปณิธานของท่านให้สำเร็จในยุคนี้
ศาสตราจารย์ต้วนฉิงผู้มีความชำนาญหลายภาษา เช่น ภาษาสันสกฤต บาลี อังกฤษ เยอรมัน
รัสเซีย ฝรั่งเศส อิหร่าน และซากาเป็นต้น สำหรับภาษาซากา
(ภาษาในกลุ่มประเทศอารยธรรมเส้นทางสายไหม) มีเพียงบุคคลในโลก 5 ท่านที่ชำนาญภาษานี้
ความสำเร็จครั้งนี้เกิดจากทางมหาวิทยาลัยปักกิ่ง คณะภาษาต่างประเทศสาขาวิชาภาษาบาลีสันสกฤตไม่ได้เปิดรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีมา 20ปีแล้ว จนในช่วง 4 ปีที่ผ่านมาถึงได้เปิดรับนักศึกษา ซึ่งมีนักศึกษาโครงการดวงตะวันสันติภาพของวัดพระธรรมกายได้เข้าเรียนในวิชานั้น จึงทำให้ทราบถึงความปรารถนาของศาสตราจารย์ต้วนฉิงที่จะทำคำรำพึงของอาจารย์ให้สำเร็จทำให้เกิดความร่วมมือกับทางสถาบันธรรมชัย
ทีมงานมหาวิทยาลัยปักกิ่งได้ทำการแปลพระไตรปิฎกจากภาษาบาลีเป็นภาษาจีนจากนั้นส่งให้ทีมงานสถาบันธรรมชัยช่วยตรวจสอบความถูกต้องของการแปล ทีมงานทั้งสองฝ่ายได้ช่วยกันตรวจสอบนับครั้งไม่ถ้วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งศาสตราจารย์ต้วนฉิงได้ทุ่มเทแรงกายและแรงใจในการตรวจสอบความถูกต้องด้วยตัวเองทั้งหมด
พิธีเซ็นสัญญาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันธรรมชัย และ
สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยปักกิ่ง เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2552
ศาสตราจารย์ต้วนฉิง ได้กล่าวว่า “หนังสือพระไตรปิฎกฉบับทีฆนิกายเล่มนี้เป็นเหมือนผลึกอัญมณีที่มีคุณค่าและความหมายกับชาวจีนเป็นอย่างมาก เพราะจะทำให้ชาวจีนได้เข้าใจแนวทางคำสอนของพระพุทธศาสนาดั้งเดิม ซึ่งคำสอนเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อแนวความคิดของสังคมจีนดังนั้นดิฉันหวังให้หนังสือมียอดจำหน่ายที่สูง เมื่อทุกคนได้อ่านจะช่วยยกระดับมาตรฐานคุณธรรมให้สูงขึ้น
ศาสตราจารย์ต้วนฉิงและหนังสือพระไตรปิฎกทีฆนิกาย
“ถือเป็นเพียงก้าวเล็กๆก้าวแรกเท่านั้นจึงอยากรีบทำมัชฌิมนิกายให้เสร็จโดยเร็ว”
ซึ่งหนังสือพระไตรปิฎกทีฆนิกายเล่มนี้ ถือเป็นเพียงก้าวเล็กๆก้าวแรกเท่านั้นจึงอยากรีบทำมัชฌิมนิกายให้เสร็จโดยเร็วและหวังว่าทางสถาบันธรรมชัยวัดพระธรรมกายจะสนับสนุนเราเช่นเดิมดั่งที่ผ่านมา”
ทีมงานพระนักศึกษา และนักศึกษาจากโครงการดวงตะวันสันติภาพ
ของวัดพระธรรมกาย ลูกพระธัมฯ ณ กรุงปักกิ่ง ถ่ายรูปร่วมกับศาสตราจารย์ต้วนฉิง
บัตรอวยพรที่เขียนด้วยลายมือของศาสตราจารย์ต้วนฉิง
ถวายคุณครูไม่ใหญ่เนื่องในวันธรรมชัย 27 สิงหาคม พ.ศ.2555 (บน-ล่าง)
ท้ายที่สุดนี้เนื่องในวาระวันธรรมชัยที่เป็นวันแห่งการเริ่มต้นและวันสำเร็จของหนังสือเล่มนี้ศาสตราจารย์ต้วนฉิงจึงส่งบัตรอวยพรซึ่งมีเนื้อหาความว่า “ปรารถนาให้พระเดชพระคุณหลวงพ่อธัมมชโยมีอายุยืนยาวถึง 1 กัปป์เพื่อเกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุขแก่มหาชน เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลกทั้งหลาย กราบขอความเมตตาพระเดชพระคุณหลวงพ่อประทานพรให้แก่ดิฉัน เพื่อให้การแปลพระไตรปิฏกนี้เป็นไปอย่างราบรื่น จากศาสตาจารยต้วนฉิง 20 สิงหาคม พ.ศ.2555 ณ มหาวิทยาลัยปักกิ่ง”
(ฆารวี โชคคุณะวัฒนา: เรียบเรียง)