สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 4
ฟังดูจากที่ถาม มา คาดว่า คงเพิ่งเิริ่มศึกษาใหม่จริงๆ จนยังไม่เข้าใจ เรื่อง Bid Offer เลย
คำว่า Bid หรือ Offer มันคือ ราคาเสนอซื้อ หรือ ขาย หุ้นทุกตัวต้องมีและเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆตามแต่พื้นฐาน ข่าวคราว และสถาะการณ์ในตลาดของหุ้นตัวนั้น
ถ้าไม่มี การ Bid และ Offer หรือ มีคนเสนอซื้อหรือ ขาย มันก็ไม่เกิดการซื้อขาย ซึ่ง ปกติ แล้วจะไม่เป็นอย่างนั้น หุ้นทุกตัว จะต้องมีการเสนอซื้อหรือขาย แต่ว่า จะมีจำนวนมากน้อย แค่ไหนขึ้นกับ หุ้นแต่ล่ะตัว หุ้นโดยทั่วไปที่มีสภาพคล่องพอสมควร ก็มักจะมีการเสนอซื้อหรือ ขายทุกระดับขั้นราคา (Spread) ในปริมาณมากน้อยต่างกันไป
แต่ถ้าพวกสภาพคล่้องน้อยๆ ก็มีเหมือนกัน ที่ อาจจะเว้น บางขั้นไม่มีคนเสนอซื้อหรือขายในระดับนั้นำๆๆๆๆ
ในเวลาก่อนเปิดตลาด แต่ล่ะวัน ใครต้องการซื้อ ที่ราคาเท่าไร จำนวนเท่าไร ก็เสนอซื้อเข้าไป (Bid) คนที่เสนอสูงสุด ก็ไปอยู่หัวแถว
คนที่เสนอซื้อรองลงมา ก็อยู่ต่อเป็นลำดับๆต่อๆกันมา
ส่วนใครอยากขายที่ราคาเท่าไร จำนวนเท่าไร ก็ Offer เข้าไป ใครเสนอขายต่ำสุด ก็ได้ อยู่หัวแถว ใครเสนอขายราคาสูงถัดไปก็เข้าคิว รอเป็นลำดับๆถัดๆกันลงไป
เมื่อเปิดตลาด ก็จะดูว่า ฝ่ายใดเสนอซื้อขายมากแค่ไหน ก็จะเกิดการจับคู่ีก่อนเปิดตลาด ซึ่งหลักการเรื่องการคำนวนราคาปิด เปิด และ ATO ATC อาจจะยิ่งซับซ้อนไปกว่า ถ้ายังไม่เข้าใจเรื่อง Bid Offer เอาข้ามไปก่อน
เอาว่า หลัีงจากมีการจับคู่ไปแล้ว มันก็จะเหลือ ราคาเสนอ ซื้อสูงสุด กับ เสนอขายต่ำสุด มาประจันหน้ากัน
ลองดูตัวอย่างอันนี้ ก็ได้ เป็นหุ้น PTT ที่ในระหว่างซื้อขาย จะต้องมี ราคา และจำนวนสองฝั่ง
ณ ตอนนี้ ฝั่ง เสนอซื้อสูงสุด 336 บาท มีรอซื้ออยู่ 68900 หุ้น
ส่วนฝั่งเสนอขายสูงสุด (Offer) อยู่ ที่ 337 มีรอขายอยู่ 91400 หุ้น
ณ สถานะการนี้ มันก็จะยังไม่มีการจับคู่ เนื่องจากราคาเสนอ ซ์้อและขายมันไม่ตรงกัน
ถ้ามีคนเสนอ ซื้อเพิ่มเข้ามา แต่ยังต่ำกว่า ราคาเสนอขายที่รออยู่ต่ำสุด(337) เช่นเสนอซื้อ 336 หรือ 335 หรือต่ำกว่าลงมา ปริมาณที่ เสนอเข้ามานั่น ก็จะไปเพิ่มต่อคิวในระดับราคานั้นๆ เพื่อรอจับคู่
เช่นกันถ้ามีคนเสนอขายเข้ามาเพิ่ม แต่ว่า ราคายังสูงกว่า เสนอซื้อต่ำสุดที่รอยู่( 336) เช่นเสนอขายเพิ่มมาที่ 337-338 หรือสูงกว่านั้น ปริมาณที่เสนอ เข้ามาก็ไปรอต่อคิว คนที่เค้าตั้งไว้ก่อน
แต่เมื่อใด ที่มีคนเสนอซื้อ เท่ากับ หรือสูงกว่า ฝั่ง Offer เช่น สั่งซื้อ 337 หนึ่งหมื่นหุ้น
อย่างนี้จะเกิดการจับคู่ คนที เสนอซื้อ337 นั่นจะได้ ซื้อ หุ้นที่คนรอขาย 337 นั่นไป 10000 หุ้น ส่งผลให้ จำนวนหุ้นฝั่ง Offer ราคา 337 ลดลงเหลือ แค่ 81400 หุ้น
หรือ ถ้า เกิด สั่งซืั้อ 377 มากกว่าจำนวนที่มีตั้งขายรออยู่ เช่นสั่งซื้อ 100,000 หุ้น
อย่างนี้ ก็จะซื้อได้ จำนวน 91400 หุ้นที่รอขายไปทันที และจำนวนที่เหลืออยู่อีก 8600 หุ้น ก็จะกลายเป็น มาตั้ง Bid เป็นอันดับแรก ที่ราคา 337 จำนวน 8600 หุ้น ดันราคาที่รอเสนอซื้อ 336 กลับ ลงไปอยู่อันดับสอง
ส่วน ฝั่ง Offer ก็จะกลายเป็นเสนอขายลำดับแรก ที่ 338 ขึ้นมาแทน เพราะว่า 337 โดนเคาะหมดไปแล้ว
นึกตาม ทันมั้ยครับ
ถ้าไง ต้องหาหนังสือ อ่านดูก่อนแล้ว ครับ อย่าเพิ่งลงมาเล่นจริง ครับ
คำว่า Bid หรือ Offer มันคือ ราคาเสนอซื้อ หรือ ขาย หุ้นทุกตัวต้องมีและเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆตามแต่พื้นฐาน ข่าวคราว และสถาะการณ์ในตลาดของหุ้นตัวนั้น
ถ้าไม่มี การ Bid และ Offer หรือ มีคนเสนอซื้อหรือ ขาย มันก็ไม่เกิดการซื้อขาย ซึ่ง ปกติ แล้วจะไม่เป็นอย่างนั้น หุ้นทุกตัว จะต้องมีการเสนอซื้อหรือขาย แต่ว่า จะมีจำนวนมากน้อย แค่ไหนขึ้นกับ หุ้นแต่ล่ะตัว หุ้นโดยทั่วไปที่มีสภาพคล่องพอสมควร ก็มักจะมีการเสนอซื้อหรือ ขายทุกระดับขั้นราคา (Spread) ในปริมาณมากน้อยต่างกันไป
แต่ถ้าพวกสภาพคล่้องน้อยๆ ก็มีเหมือนกัน ที่ อาจจะเว้น บางขั้นไม่มีคนเสนอซื้อหรือขายในระดับนั้นำๆๆๆๆ
ในเวลาก่อนเปิดตลาด แต่ล่ะวัน ใครต้องการซื้อ ที่ราคาเท่าไร จำนวนเท่าไร ก็เสนอซื้อเข้าไป (Bid) คนที่เสนอสูงสุด ก็ไปอยู่หัวแถว
คนที่เสนอซื้อรองลงมา ก็อยู่ต่อเป็นลำดับๆต่อๆกันมา
ส่วนใครอยากขายที่ราคาเท่าไร จำนวนเท่าไร ก็ Offer เข้าไป ใครเสนอขายต่ำสุด ก็ได้ อยู่หัวแถว ใครเสนอขายราคาสูงถัดไปก็เข้าคิว รอเป็นลำดับๆถัดๆกันลงไป
เมื่อเปิดตลาด ก็จะดูว่า ฝ่ายใดเสนอซื้อขายมากแค่ไหน ก็จะเกิดการจับคู่ีก่อนเปิดตลาด ซึ่งหลักการเรื่องการคำนวนราคาปิด เปิด และ ATO ATC อาจจะยิ่งซับซ้อนไปกว่า ถ้ายังไม่เข้าใจเรื่อง Bid Offer เอาข้ามไปก่อน
เอาว่า หลัีงจากมีการจับคู่ไปแล้ว มันก็จะเหลือ ราคาเสนอ ซื้อสูงสุด กับ เสนอขายต่ำสุด มาประจันหน้ากัน
ลองดูตัวอย่างอันนี้ ก็ได้ เป็นหุ้น PTT ที่ในระหว่างซื้อขาย จะต้องมี ราคา และจำนวนสองฝั่ง
ณ ตอนนี้ ฝั่ง เสนอซื้อสูงสุด 336 บาท มีรอซื้ออยู่ 68900 หุ้น
ส่วนฝั่งเสนอขายสูงสุด (Offer) อยู่ ที่ 337 มีรอขายอยู่ 91400 หุ้น
ณ สถานะการนี้ มันก็จะยังไม่มีการจับคู่ เนื่องจากราคาเสนอ ซ์้อและขายมันไม่ตรงกัน
ถ้ามีคนเสนอ ซื้อเพิ่มเข้ามา แต่ยังต่ำกว่า ราคาเสนอขายที่รออยู่ต่ำสุด(337) เช่นเสนอซื้อ 336 หรือ 335 หรือต่ำกว่าลงมา ปริมาณที่ เสนอเข้ามานั่น ก็จะไปเพิ่มต่อคิวในระดับราคานั้นๆ เพื่อรอจับคู่
เช่นกันถ้ามีคนเสนอขายเข้ามาเพิ่ม แต่ว่า ราคายังสูงกว่า เสนอซื้อต่ำสุดที่รอยู่( 336) เช่นเสนอขายเพิ่มมาที่ 337-338 หรือสูงกว่านั้น ปริมาณที่เสนอ เข้ามาก็ไปรอต่อคิว คนที่เค้าตั้งไว้ก่อน
แต่เมื่อใด ที่มีคนเสนอซื้อ เท่ากับ หรือสูงกว่า ฝั่ง Offer เช่น สั่งซื้อ 337 หนึ่งหมื่นหุ้น
อย่างนี้จะเกิดการจับคู่ คนที เสนอซื้อ337 นั่นจะได้ ซื้อ หุ้นที่คนรอขาย 337 นั่นไป 10000 หุ้น ส่งผลให้ จำนวนหุ้นฝั่ง Offer ราคา 337 ลดลงเหลือ แค่ 81400 หุ้น
หรือ ถ้า เกิด สั่งซืั้อ 377 มากกว่าจำนวนที่มีตั้งขายรออยู่ เช่นสั่งซื้อ 100,000 หุ้น
อย่างนี้ ก็จะซื้อได้ จำนวน 91400 หุ้นที่รอขายไปทันที และจำนวนที่เหลืออยู่อีก 8600 หุ้น ก็จะกลายเป็น มาตั้ง Bid เป็นอันดับแรก ที่ราคา 337 จำนวน 8600 หุ้น ดันราคาที่รอเสนอซื้อ 336 กลับ ลงไปอยู่อันดับสอง
ส่วน ฝั่ง Offer ก็จะกลายเป็นเสนอขายลำดับแรก ที่ 338 ขึ้นมาแทน เพราะว่า 337 โดนเคาะหมดไปแล้ว
นึกตาม ทันมั้ยครับ
ถ้าไง ต้องหาหนังสือ อ่านดูก่อนแล้ว ครับ อย่าเพิ่งลงมาเล่นจริง ครับ
แสดงความคิดเห็น
การลงทุนในหุ้นจำเป็นต้อง cut loss bid offer รึป่าวครับ
ตามความเข้าใจของผมการ cutt loss คือการขายขาดทุน แล้วถ้าสมมุติว่าผมลงทุนแบบระยะยาว
ไม่ว่าราคาหุ้นในพอร์ตของผมจะขึ้นจะลงยังไงผมก็ไม่จำเป็นต้อง cut loss ถูกมั้ยครับ
นอกเหนือจากว่าจะมึเหตุการณ์ร้ายแรง เช่นเศรษฐกิจกำลังดิ่งเหวสุดๆ อันนี้สมควร cut loss ถูกมั้ยครับ
แล้วการ bid offer ตามความเข้าใจของผมคือการส่งคำสั่งซื้อขายล่วงหน้า ถูกมั้ยครับ
แต่ที่ผมไม่เข้าใจคือหากว่าเราส่งคำสั่งไปแล้วตลาดเปิดมา ราคาหุ้นไม่ตรงกับที่เราส่งคำสั่งไปเราจะได้ที่ราคาไหนครับ
แล้วการ bid offer จำเป็นกับการลงทุนแบบระยะยาวรึป่าวครับ
แล้วไม่ทราบว่าข้อดีข้อเสียของการ cut loss bid offer คืออะไรครับ