คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 6
แนวทางศึกษารัฐศาสตร์ แนวเศรษฐศาสตร์การเมือง
คือ ความเกี่ยวพันกันระหว่างการเมืองและเศรษฐกิจ เมื่อเศรษฐกิจเปลี่ยน การเมืองก็เปลี่ยน เมื่อการเมืองเปลี่ยน เศรษฐกิจก็เปลี่ยน
* ข้อเสนอของข้าพเจ้า
ในการกระจุกตัวของนายทุนทั่วทั้งโลก จะนำมาซึ่ง การจัดระบบและการวางโครงสร้างทางเศรษฐกิจแบบใหม่ ซึ่งมันจะครอบการเมืองไปอีกชั้นนึง , พรรคการเมืองเป็นพันธมิตรกันระหว่างประเทศ นักการเมืองต้องเล่นเกมการเมืองภายใต้ความผกผันของเศรษฐกิจ
-----------------
นักปรัชญาการเมือง ชาวตะวันตก
คาร์ลมาร์ค - คาร์ลมาร์คใช้ทฤษฎีไดอาเรคติควิพาษวิธี แบบเดียวกับเฮเกล แต่หลักการตรงข้ามกัน ไดอาเรตติคของเฮลเกล คือ ไออาเรคติคจิตนิยม ซึ่งหมายถึงสภาพแวดล้อมหรือวัตถุจะเป็นอย่างไรก็ได้ ขึ้นอยู่กับจิตใจมนุษย์จะอยู่กับมันได้หรือไม่ ส่วนคาร์ลมาร์คมองว่า สภาพแวดล้อมหรือวัตถุเป็นตัวกำหนดจิตใจของมนุษย์ เรียกว่า ไดอาเรคติควัตถุนิยม
ทฤษฎีมาร์คซิสต์ เป็นการศึกษาการเมืองจากประวัติศาสตร์ ที่มนุษย์จะก่อสงครามขึ้น จากความไม่เท่าเทียม เช่น ไพร่ กับ เจ้านาย , ชนชั้นแรงงาน กับ นายทุน , เจ้าของที่ดิน และรัฐ เกิดขึ้นเวียนวนไปอย่างนี้เสมอ
มาร์คซิสต์ ต้องการสร้างชนชั้นใหม่ ขึ้นมา เพื่อลบความเหลื่อมล้ำระหว่างนายทุน กับชนชั้นแรงงาน จึงต้องทำการปฎิวัติ โดยไม่รอให้เป็นไปตามกระบวนการทางธรรมชาติ เพื่อจุดหมายแห่งความเท่าเทียม และต้องทำการปฎิวัติล้มล้างนายทุน พร้อมกันทั้งโลก และในที่สุดแล้ว สังคมคอมมิวนิสต์ จะไม่ต้องการให้มีรัฐ ด้วย เนื่องจากรัฐเป็นผลผลิตของทุนนิยม นั่นเอง
นักปรัชญา ชาวตะวันออก
ฮั่นเฟยจื้อ - ฮั่นเฟยจื้อ เห็นว่า มนุษย์ไม่สามารถจะควบคุมพฤติกรรมหรือจิตใจของตัวเองได้ จึงได้มีแนวคิดที่จะใช้ กฎหมาย มาบังคับใช้ ในการปกครองบ้านเมือง มีการให้รางวัลกับผู้ที่ทำความดีความชอบให้แก่รัฐ หรือสังคม และมีการลงโทษกับคนที่ทำผิดกฎหมาย และยังถึง กุสโลบายของผู้นำ จะต้องมีความยืดหยุ่นในการครองอำนาจ ( ลัทธิเต๋าประยุกต์ ) และการวางตัวกับบริวาร เพื่อไม่ให้ ถูกยึดอำนาจได้อย่างง่ายๆ
หลักการระวังภัย มีดังนี้
1. ภัยจากขุนนาง ข้าราชการ - การโน้มน้าวจิตใจ , การคบชู้กับภรรยาผู้ปกครอง , ใส่ใจแต่สิ่งไร้สาระ , พึ่งพึงผู้ใหญ่มากเกินไป , ใช้ประชาชนให้เป็นประโยชน์ ( ซื้อเสียง ก่อม๊อป ) และใช้อำนาจหน้าที่ หรือการใช้กำลังยึดอำนาจ
2. ภัยจากตัวผู้ปกครองเอง
ได้แก่ การเอาใจใส่กับความภักดีเล็กๆน้อยๆ จนละเลย การเอาใจใส่กับความภักดีที่ยิ่งใหญ่แท้จริง
3. ภัยจากผู้คนในรัฐ
ได้แก่ นักวิชาการ นักปลุกระดมต่างๆ
* ความคิดเห็นส่วนตัวของข้าพเจ้า
แท้จริงแล้ว ฮั่นเฟยจื้อ เป็นเพียงนักนิติรัฐ ที่ใช้กุศโลบายที่ยืดหยุ่นในการปกครองเพียงเท่านั้น มันคือ ระบบอำนาจนิยมธรรมดาๆ เท่านั้น
----------------------------------
จริยธรรมทางการเมือง
เป็นสิ่งที่นักการเมืองจะมีไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับสังคมจะเปิดกว้างให้องค์กร หรือประชาชนตรวจสอบได้มากแค่ไหน
* ความคิดเห็นส่วนตัวของข้าพเจ้า
นักการเมือง จะไม่มีจริยธรรมอะไรใดๆทั้งสิ้น นักการเมืองเป็นผู้ที่ล่วงรู้ว่าประชาชนต้องการอะไร และต้องการได้ยิน หรือฟังนักการเมืองพูดอะไร สิ่งที่พูดออกมาจึงไม่มีความจริงใดๆทั้งสิ้น หมายถึง นักการเมืองไม่มีจริยธรรมอะไรใดๆ นั่นเอง
คือ ความเกี่ยวพันกันระหว่างการเมืองและเศรษฐกิจ เมื่อเศรษฐกิจเปลี่ยน การเมืองก็เปลี่ยน เมื่อการเมืองเปลี่ยน เศรษฐกิจก็เปลี่ยน
* ข้อเสนอของข้าพเจ้า
ในการกระจุกตัวของนายทุนทั่วทั้งโลก จะนำมาซึ่ง การจัดระบบและการวางโครงสร้างทางเศรษฐกิจแบบใหม่ ซึ่งมันจะครอบการเมืองไปอีกชั้นนึง , พรรคการเมืองเป็นพันธมิตรกันระหว่างประเทศ นักการเมืองต้องเล่นเกมการเมืองภายใต้ความผกผันของเศรษฐกิจ
-----------------
นักปรัชญาการเมือง ชาวตะวันตก
คาร์ลมาร์ค - คาร์ลมาร์คใช้ทฤษฎีไดอาเรคติควิพาษวิธี แบบเดียวกับเฮเกล แต่หลักการตรงข้ามกัน ไดอาเรตติคของเฮลเกล คือ ไออาเรคติคจิตนิยม ซึ่งหมายถึงสภาพแวดล้อมหรือวัตถุจะเป็นอย่างไรก็ได้ ขึ้นอยู่กับจิตใจมนุษย์จะอยู่กับมันได้หรือไม่ ส่วนคาร์ลมาร์คมองว่า สภาพแวดล้อมหรือวัตถุเป็นตัวกำหนดจิตใจของมนุษย์ เรียกว่า ไดอาเรคติควัตถุนิยม
ทฤษฎีมาร์คซิสต์ เป็นการศึกษาการเมืองจากประวัติศาสตร์ ที่มนุษย์จะก่อสงครามขึ้น จากความไม่เท่าเทียม เช่น ไพร่ กับ เจ้านาย , ชนชั้นแรงงาน กับ นายทุน , เจ้าของที่ดิน และรัฐ เกิดขึ้นเวียนวนไปอย่างนี้เสมอ
มาร์คซิสต์ ต้องการสร้างชนชั้นใหม่ ขึ้นมา เพื่อลบความเหลื่อมล้ำระหว่างนายทุน กับชนชั้นแรงงาน จึงต้องทำการปฎิวัติ โดยไม่รอให้เป็นไปตามกระบวนการทางธรรมชาติ เพื่อจุดหมายแห่งความเท่าเทียม และต้องทำการปฎิวัติล้มล้างนายทุน พร้อมกันทั้งโลก และในที่สุดแล้ว สังคมคอมมิวนิสต์ จะไม่ต้องการให้มีรัฐ ด้วย เนื่องจากรัฐเป็นผลผลิตของทุนนิยม นั่นเอง
นักปรัชญา ชาวตะวันออก
ฮั่นเฟยจื้อ - ฮั่นเฟยจื้อ เห็นว่า มนุษย์ไม่สามารถจะควบคุมพฤติกรรมหรือจิตใจของตัวเองได้ จึงได้มีแนวคิดที่จะใช้ กฎหมาย มาบังคับใช้ ในการปกครองบ้านเมือง มีการให้รางวัลกับผู้ที่ทำความดีความชอบให้แก่รัฐ หรือสังคม และมีการลงโทษกับคนที่ทำผิดกฎหมาย และยังถึง กุสโลบายของผู้นำ จะต้องมีความยืดหยุ่นในการครองอำนาจ ( ลัทธิเต๋าประยุกต์ ) และการวางตัวกับบริวาร เพื่อไม่ให้ ถูกยึดอำนาจได้อย่างง่ายๆ
หลักการระวังภัย มีดังนี้
1. ภัยจากขุนนาง ข้าราชการ - การโน้มน้าวจิตใจ , การคบชู้กับภรรยาผู้ปกครอง , ใส่ใจแต่สิ่งไร้สาระ , พึ่งพึงผู้ใหญ่มากเกินไป , ใช้ประชาชนให้เป็นประโยชน์ ( ซื้อเสียง ก่อม๊อป ) และใช้อำนาจหน้าที่ หรือการใช้กำลังยึดอำนาจ
2. ภัยจากตัวผู้ปกครองเอง
ได้แก่ การเอาใจใส่กับความภักดีเล็กๆน้อยๆ จนละเลย การเอาใจใส่กับความภักดีที่ยิ่งใหญ่แท้จริง
3. ภัยจากผู้คนในรัฐ
ได้แก่ นักวิชาการ นักปลุกระดมต่างๆ
* ความคิดเห็นส่วนตัวของข้าพเจ้า
แท้จริงแล้ว ฮั่นเฟยจื้อ เป็นเพียงนักนิติรัฐ ที่ใช้กุศโลบายที่ยืดหยุ่นในการปกครองเพียงเท่านั้น มันคือ ระบบอำนาจนิยมธรรมดาๆ เท่านั้น
----------------------------------
จริยธรรมทางการเมือง
เป็นสิ่งที่นักการเมืองจะมีไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับสังคมจะเปิดกว้างให้องค์กร หรือประชาชนตรวจสอบได้มากแค่ไหน
* ความคิดเห็นส่วนตัวของข้าพเจ้า
นักการเมือง จะไม่มีจริยธรรมอะไรใดๆทั้งสิ้น นักการเมืองเป็นผู้ที่ล่วงรู้ว่าประชาชนต้องการอะไร และต้องการได้ยิน หรือฟังนักการเมืองพูดอะไร สิ่งที่พูดออกมาจึงไม่มีความจริงใดๆทั้งสิ้น หมายถึง นักการเมืองไม่มีจริยธรรมอะไรใดๆ นั่นเอง
แสดงความคิดเห็น
แนวทางการศึกษารัฐศาสตร์แบบเศรษฐศาสตร์การเมือง , นักปรัชญาทางการเมือง , จริยธรรมทางการเมือง
1. แนวทางการศึกษารัฐศาสตร์ แนวทางเศรษฐศาสตร์การเมือง มีลักษณะอย่างไร
2. นักการเมืองในความคิดของท่าน มีจริยธรรมทางการเมือง หรือไม่ อย่างไร จงอธิบาย
3. จงยกตัวอย่าง นักปรัชญาทางการเมืองชาวตะวันตก มา 1 ท่าน และตะวันออก 1 ท่าน แล้วเขียนแนวทางปรัชญาทางการเมืองของเขา พร้อมยกตัวอย่าง
ขอให้ทุกๆท่าน ตอบอย่างตั้งใจ เพื่อเป็นพื้นฐานทางวิชารัฐศาสตร์ต่อไป ครับ
ขอบคุณครับ