อธิบาย ซัฟไพร์ม อย่างย่อ คือ การปล่อยกู้ให้ลูกหนี้ ที่คุณภาพต่ำกว่าลูกหนี้ชั้นดี
โดยบริษัทเงินกู้ จะได้อัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่า ลูกค้าชั้นดี
กู้ง่าย ผ่อนคลาย แม้หลักทรัพย์ไม่คล้องจองกับรายได้ของผู้กู้ บริษัทปล่อยกู้
ได้ดอกเบี้ยสูงแต่ขณะเดียวกัน ก็รับความเสี่ยงจากการไม่ได้คืนเงินต้น สูงกว่า
ลูกค้าชั้นดีเช่นกัน
คราวนี้ มาดู การซื้อรถคันแรก กรณีไม่ได้ซื้อเงินสด นั่นก็คือ ผ่านไฟแนนซ์
ซึ่งลักษณ์การปล่อยสินเชื่อประเภทนี้มีกฏของแบงค์ชาติบังคับอยู่ ดังนี้
1. วงเงินการดาวน์ จะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับ รายได้ผู้กู้ และ ฐานะผู้ค้ำประกัน
2. ระยะเวลาผ่อนชำระ ขึ้นอยุ่กับความประสงค์ของผู้กู้ ทั้งนี้ ต้องสอดคล้องกับราย
ได้ผู้กู้
3. ผู้ไม่มีรายได้ ไม่สามารถกู้เงินได้ เว้นแต่เป็นสามีภรรยา และ ฐานะการเงินถึง
เกณท์
4. หนึ่งปีแรกที่กู้ ผู้กู้ต้องทำประกันภัยรถยนต์ไว้กับบริษัทประกันภัย
5. การค้างชำระเกินกว่าสามเดือน รถจะถูกยึดเพื่อการขายทอดตลาด
6. ถ้าการขายทอดตลาดแล้ว ไม่สามารถชำระหนี้ได้หมด ไฟแนนซ์จะฟ้องทั้งผู้กู้
และ ผู้ค้ำประกัน เพื่อเรียกคืนยอดคงเหลือที่ค้างชำระ
การซื้อรถเงินผ่อนจะวางเงินดาวน์ปกติอยู่ที่ 20% ที่เหลือ 80% คือความเสี่ยงของ
หนี้ แต่ไฟแนนซ์ยังมีหลักทรัพย์คือ ตัวรถยนต์ จากวันที่ออกรถ ถ้ายึด 3 เดือนให้
หลัง สามารถขายทอดตลาดได้มากกว่า 70% ของราคารถ
ดังนั้น ความเสี่ยงที่จะเกิด เกิดอยู่แค่ดอกเบี้ย ที่ไฟแนนซ์ควรจะได้รับ ไม่ใช่ เงิน
ดาวน์ และ หลักทรัพย์รวมกัน
การที่คนบางคน มองมูลค่าความเสียหาย ขนาด 600,000 ล้านบาทนั้นเป็นการ
มองไม่ครบทุกด้าน หรือ มองแค่ด้านใดด้านหนึ่ง
รถที่ของคืนภาษีมีจำนวนหนึ่งล้านคัน เฉลี่ยที่คันละ หกแสนบาท ดังนั้น 6 แสน
ล้านคือ เงินต้นล้วน ๆ ผู้พูดไม่ได้มองเห็นเงินดาวน์ที่ผู้กู้จ่าย หลักทรัพย์ที่ ไฟ
แนนซ์ยังถืออยู่คือตัวรถยนต์ และ ผู้พูด ไม่ได้มองถึงคนที่ซื้อรถด้วย "เงินสด"
ในจำนวนล้านคันนี้ด้วยซ้ำไป
ที่สำคัญ ลูกหนี้เป็นลูกหนีี้รายย่อยนับแสนราย ไม่ใช่กระจุกตัวอยู่ที่กลุ่มคนไม่มีคน
จึงขอทำความเข้าใจมา ณ ที่นี้ เพื่อไม่ให้ประชาชนแตกตื่นเพราะหลงความคิดไป
ทำความเข้าใจ เรื่อง ซับไพร์ม ที่จะเกิดขึ้นกับนโยบายเรื่องรถคันแรกที่บางท่านเข้าใจผิดว่าเป็น 6 แสนล้าน "ล่มจมแน่"{แตกประเด็นจาก P13113717}
โดยบริษัทเงินกู้ จะได้อัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่า ลูกค้าชั้นดี
กู้ง่าย ผ่อนคลาย แม้หลักทรัพย์ไม่คล้องจองกับรายได้ของผู้กู้ บริษัทปล่อยกู้
ได้ดอกเบี้ยสูงแต่ขณะเดียวกัน ก็รับความเสี่ยงจากการไม่ได้คืนเงินต้น สูงกว่า
ลูกค้าชั้นดีเช่นกัน
คราวนี้ มาดู การซื้อรถคันแรก กรณีไม่ได้ซื้อเงินสด นั่นก็คือ ผ่านไฟแนนซ์
ซึ่งลักษณ์การปล่อยสินเชื่อประเภทนี้มีกฏของแบงค์ชาติบังคับอยู่ ดังนี้
1. วงเงินการดาวน์ จะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับ รายได้ผู้กู้ และ ฐานะผู้ค้ำประกัน
2. ระยะเวลาผ่อนชำระ ขึ้นอยุ่กับความประสงค์ของผู้กู้ ทั้งนี้ ต้องสอดคล้องกับราย
ได้ผู้กู้
3. ผู้ไม่มีรายได้ ไม่สามารถกู้เงินได้ เว้นแต่เป็นสามีภรรยา และ ฐานะการเงินถึง
เกณท์
4. หนึ่งปีแรกที่กู้ ผู้กู้ต้องทำประกันภัยรถยนต์ไว้กับบริษัทประกันภัย
5. การค้างชำระเกินกว่าสามเดือน รถจะถูกยึดเพื่อการขายทอดตลาด
6. ถ้าการขายทอดตลาดแล้ว ไม่สามารถชำระหนี้ได้หมด ไฟแนนซ์จะฟ้องทั้งผู้กู้
และ ผู้ค้ำประกัน เพื่อเรียกคืนยอดคงเหลือที่ค้างชำระ
การซื้อรถเงินผ่อนจะวางเงินดาวน์ปกติอยู่ที่ 20% ที่เหลือ 80% คือความเสี่ยงของ
หนี้ แต่ไฟแนนซ์ยังมีหลักทรัพย์คือ ตัวรถยนต์ จากวันที่ออกรถ ถ้ายึด 3 เดือนให้
หลัง สามารถขายทอดตลาดได้มากกว่า 70% ของราคารถ
ดังนั้น ความเสี่ยงที่จะเกิด เกิดอยู่แค่ดอกเบี้ย ที่ไฟแนนซ์ควรจะได้รับ ไม่ใช่ เงิน
ดาวน์ และ หลักทรัพย์รวมกัน
การที่คนบางคน มองมูลค่าความเสียหาย ขนาด 600,000 ล้านบาทนั้นเป็นการ
มองไม่ครบทุกด้าน หรือ มองแค่ด้านใดด้านหนึ่ง
รถที่ของคืนภาษีมีจำนวนหนึ่งล้านคัน เฉลี่ยที่คันละ หกแสนบาท ดังนั้น 6 แสน
ล้านคือ เงินต้นล้วน ๆ ผู้พูดไม่ได้มองเห็นเงินดาวน์ที่ผู้กู้จ่าย หลักทรัพย์ที่ ไฟ
แนนซ์ยังถืออยู่คือตัวรถยนต์ และ ผู้พูด ไม่ได้มองถึงคนที่ซื้อรถด้วย "เงินสด"
ในจำนวนล้านคันนี้ด้วยซ้ำไป
ที่สำคัญ ลูกหนี้เป็นลูกหนีี้รายย่อยนับแสนราย ไม่ใช่กระจุกตัวอยู่ที่กลุ่มคนไม่มีคน
จึงขอทำความเข้าใจมา ณ ที่นี้ เพื่อไม่ให้ประชาชนแตกตื่นเพราะหลงความคิดไป